กิริยากิตก์
|
|
|
|
|
|||
|
|
วท
ธาตุ | อรรถ |
+
|
อนฺต
ปัจจัยกิริยากิตก์ | วาจก กาล |
+
|
สิ
วิภัตตินาม | ลิงค์ วจนะ |
= วทนฺโต
กิริยากิตก์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
วท
ธาตุ | อรรถ |
+
|
อ
ปัจจัย | วาจก |
+
|
ติ
วิภัตติ | กาล บท วจนะ บุรุษ |
= วทติ
กิริยาอาขยาต |
(ป. เอก. -ตวา, -ตวตี, -ตวตํ)อิตถีลิงค์ ลง อินี ปัจจัย เครื่องหมายอิตถีลิงค์ มีรูปเป็น ตาวินี แจกอย่าง นารี,นปุงสกลิงค์ รัสสะ อี เป็น อิ แล้วแจกอย่าง อกฺขิ (ป. เอก. -ตาวี, -ตาวินี, -ตาวิ)เป็นเครื่องหมายกัมมวาจก เหตุกัมมวาจก และ ภาววาจก ลงหลังสกัมมธาตุ เป็น กัมมวาจก เหตุกัมมวาจก ลงหลังอกัมมธาตุ เป็น ภาววาจก เหตุกัมมวาจกใช้ลงท้ายธาตุได้เลย เช่น วจนีโย (วจ) (อันเขา) พึงกล่าว, โภชนีโย (ภุช) (อันเขา) พึงกิน, สวนีโย (สุ) (อันเขา) พึงฟังถ้าลงท้ายธาตุที่มี ร เป็นที่สุด แปลง น เป็น ณ เช่น กรณีโย (กร) (อันเขา) พึงทำ, สรณีโย (สุ) (อันเขา) พึงระลึกลงท้ายธาตุที่มี ม เป็นที่สุด แปลง น เป็น ณ บ้าง เช่น รมณีโย (รม) (อันเขา) พึงยินดีใน ภาววาจก เป็น อ การันต์ นปุ. ปฐมา. เอก. เท่านั้น เช่น ภวนียํ (ภู) (อันเขา) พึงเป็น, มรณียํ (มร) (อันเขา) พึงตาย, คมนียํ (คม) (อันเขา) พึงไปการาปนีโย (อันเขา ยัง...) พึงให้ทำ, วาทาปนีโย (อันเขา ยัง...)พึงให้กล่าว, มาราปนีโย (อันเขา ยัง...) พึงให้ตายอิตถีลิงค์ ลง อา ปัจจัย เครื่องหมายอิตถีลิงค์ แจกอย่าง กญฺญา,นปุงสกลิงค์ แจกอย่าง กุล (ป. เอก. -นีโย, -นียา, -นียํ; -ณีโย, -ณียา, -ณียํ) ลงหลังสกัมมธาตุ เป็น กัมมวาจก เหตุกัมมวาจก ลงหลังอกัมมธาตุ เป็น ภาววาจก เหตุกัมมวาจกถ้าลงหลังธาตุพยางค์เดียว มี อา เป็นที่สุด ให้ลง ตพฺพ ได้เลย เช่น ญาตพฺพ (อันเขา) พึงรู้, ทาตพฺพ (อันเขา) พึงให้, ฐาตพฺพํ (อันเขา) พึงยืน มี อิ อี เป็นที่สุด แปลง อิ อี เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย แล้วลง อิ อาคมด้วย เช่น สยิตพฺพํ (อันเขา) พึงนอน, กยิตพฺพ (อันเขา) พึงซื้อ มี อุ อู เป็นที่สุด แปลง อุ อู เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แล้วลง อิ อาคมด้วย เช่น ภวิตพฺพํ (อันเขา) พึงเป็นลงหลังธาตุตั้งแต่ 2 พยางค์ขึ้นไป ลบที่สุดธาตุแล้วซ้อน ตฺ บ้าง เช่น กตฺตพฺพ (อันเขา) พึงทำ, วตฺตพฺพ (อันเขา) พึงกล่าวลงหลังธาตุมี ธ ภ เป็นที่สุด ลบที่สุดธาตุ แล้วแปลง ต ที่ ตพฺพ เป็น ทฺธ เช่น ลทฺธพฺพ (อันเขา) พึงได้ลงหลังธาตุมี ส เป็นที่สุด ลบที่สุดธาตุ แล้วแปลง ต ที่ ตพฺพ เป็น ฏฺฐ เช่น ทฏฺฐพฺพ (อันเขา) พึงเห็นลงหลังธาตุมี ม เป็นที่สุด ลบที่สุดธาตุ แล้วซ้อน นฺ เช่น คนฺตพฺพํ (อันเขา) พึงไปถ้าไม่ลบที่สุดธาตุหรือแปลงปัจจัย ด้วยวิธีข้างต้น ให้ลง อิ อาคมท้ายธาตุ เช่น เวทิตพฺพ (อันเขา) พึงรู้, กริตพฺพ (อันเขา) พึงทำ, คมิตพฺพํ (อันเขา) พึงไป, ภาสิตพฺพ (อันเขา) พึงกล่าวใน ภาววาจก เป็น อ การันต์ นปุ. ปฐมา. เอก. เท่านั้น แจกอย่าง กุล เช่น ภวิตพฺพํ (อันเขา) พึงเป็น, มริตพฺพํ (อันเขา) พึงตาย, คมิตพฺพํ (อันเขา) พึงไปอิตถีลิงค์ ลง อา ปัจจัย เครื่องหมายอิตถีลิงค์ แจกอย่าง กญฺญา,นปุงสกลิงค์ แจกอย่าง กุล (ป. เอก. -ตพฺโพ, -ตพฺพา, -ตพฺพํ)เป็นเครื่องหมายวาจกทั้ง 5แต่ถ้าแปลง ย กับที่สุดธาตุแล้วไม่ต้องลง อิ อาคม เช่น วุจฺจมาโน (อันเขา) กล่าวอยู่, ปจฺจมาโน (อันเขา) หุงอยู่, ลพฺภมาโน (อันเขา) ได้อยู่อิตถีลิงค์ ลง อา ปัจจัย เครื่องหมายอิตถีลิงค์ แจกอย่าง กญฺญา,นปุงสกลิงค์ แจกอย่าง กุล
(ป. เอก. -มาโน, -มานา, -มานํ)
|
ลงหลังธาตุพยางค์เดียว เช่น
|
||||
|
|
ญาโต
(ญา) (อันเขา) รู้แล้ว
|
ชิโต
(ชิ) (อันเขา) ชนะแล้ว
|
นีโต
(นี) (อันเขา) นำไปแล้ว
|
ภีโต
(ภี) (อันเขา) กลัวแล้ว
|
|
|
ภูโต
(ภู) เป็นแล้ว
|
สุโต
(สุ) (อันเขา) ฟังแล้ว
|
อิโต (อิ)
ไปแล้ว; ถึงแล้ว (ซึ่ง) เช่น
ทุกฺขิโต ถึงแล้วซึ่งทุกข์
|
|
|
ธาตุมี
อา เป็นที่สุด แปลง อา เป็น อิ อี หรือลง อิ อาคม
เช่น
|
||||
|
|
ฐิโต
(ฐา) ยืนแล้ว
|
ปีโต
(ปา) (อันเขา) ดื่มแล้ว
|
อภิชฺฌิโต
(อภิ ฌา)
(อันเขา) เพ่งจำเพาะแล้ว
|
|
|
ลงหลังธาตุตั้งแต่
2 พยางค์ขึ้นไป ถ้าไม่แปลงธาตุและปัจจัย
ก็ให้ลง อิ อาคมหลังธาตุ เช่น
|
||||
|
|
ปจิโต
(อันเขา) หุงแล้ว
|
กริโต
(อันเขา) ทำแล้ว
|
ปสํสิโต
(อันเขา) สรรเสริญแล้ว
|
คมิโต
ไปแล้ว
|
|
|
มริโต
ตายแล้ว
|
|
|
|
|
ธาตุมี
น ม ร
เป็นที่สุด
ลบที่สุดธาตุ เช่น
|
||||
|
|
น
|
|
|
|
|
|
ขโต
(ขน) (อันเขา) ขุดแล้ว
|
หโต
(หน) (อันเขา) เบียดเบียนแล้ว
|
สมฺมโต
(สํ มน)
(อันเขา) รู้พร้อมแล้ว
|
|
|
|
ม
|
|
|
|
|
|
คโต (คม)
ไปแล้ว, ถึงแล้ว (ซึ่ง)
|
รโต (รม)
ยินดีแล้ว
|
นิยโต (นิ
ยมุ)
เที่ยงแล้ว
|
ปริณโต
(ปริ นม)
แปรปรวนแล้ว
|
|
|
ปฏิวิรโต
(ปฏิ วิ รมุ)
(อันเขา) เว้นเฉพาะแล้ว
|
|
|
|
|
|
ร
|
|
|
|
|
|
กโต (อันเขา)
ทำแล้ว
|
มโต (มร)
ตายแล้ว
|
ภโต
ภโฏ
(ภร) (อันเขา) เลี้ยงแล้ว
|
สนฺถโต (ถร)
(อันเขา) ปูลาดแล้ว
|
|
|
กิโต (กิร)
เกลื่อนกล่นแล้ว
|
อภิหโต
อภิหโฏ (อภิ หร)
(อันเขา) นำไปแล้ว
|
|
|
|
ธาตุมี
จ ช ท ป เป็นที่สุด ลบที่สุดธาตุ ซ้อน ตฺ
เช่น
|
||||
|
|
จ
|
|
|
|
|
|
สิตฺโต (สิจ)
(อันเขา) รดแล้ว
|
วุตฺตํ
(วจ) (อันเขา) กล่าวแล้ว
|
วิวิตฺโต
(วิ วิจ)
สงัดแล้ว
|
มุตฺโต (มุจ)
พ้นแล้ว, (อันเขา) ปล่อยแล้ว
|
|
|
ช
|
|
|
|
|
|
ยุตฺโต (ยุช)
(อันเขา) ประกอบแล้ว
|
จตฺโต (จช)
(อันเขา) สละแล้ว
|
รตฺโต (รนฺช)
กำหนัดแล้ว
|
สารตฺโต (รนฺช)
กำหนัดนักแล้ว
|
|
|
ภุตฺโต (ภุช)
(อันเขา) กินแล้ว
|
|
|
|
|
|
ป
|
|
|
|
|
|
ปตฺโต (ปท)
ถึงแล้ว (ซึ่ง)
|
ปมตฺโต
(มท) ประมาทแล้ว
|
ขิตฺโต (ขิป)
(อันเขา) ซัดไปแล้ว
|
คุตฺโต
(คุป) (อันเขา) คุ้มครองแล้ว
|
|
|
ตตฺโต
(ตป) ร้อนแล้ว
|
สุตฺโต
(สุป) หลับแล้ว
|
ปญฺญตฺโต (ป ญป) (อันเขา) บัญญัติแล้ว
|
|
|
ธาตุมี
ค ช เป็นที่สุด ลบที่สุดธาตุ แปลง ต เป็น คฺค เช่น
|
||||
|
|
ค
|
|
|
|
|
|
ลคฺโค
(ลค) (อันเขา) ข้องแล้ว
|
|
|
|
|
|
ช
|
|
|
|
|
|
ภคฺโค
(ภญฺช) (อันเขา) หักแล้ว
|
โอภคฺโค
(โอ ภญฺช)
(อันเขา) หักแล้ว
|
ภคฺโค
(ภนฺช) (อันเขา) แบ่งแล้ว
|
นิมฺมุคฺโค
(นิ มุชฺช)
ดำลงแล้ว
|
|
ธาตุมี
ท เป็นที่สุด
ลบที่สุดธาตุ แปลง ต เป็น นฺน เช่น
|
||||
|
|
ฉนฺโน (ฉท)
(อันเขา) มุงแล้ว
|
รุนฺโน (รุท)
ร้องไห้แล้ว
|
สนฺโน
(สท) จมแล้ว
|
ฉินฺโน (ฉิท)
(อันเขา) ตัดแล้ว
|
|
|
นิสินฺโน (นิ
สท)
นั่งแล้ว
|
ภินฺโน (ภิท)
แตกแล้ว, (อันเขา) ทำลายแล้ว
|
สมฺปนฺโน (สํ
ปท)
ถึงพร้อมแล้ว
|
นิปนฺโน (นิ
ปท)
นอนแล้ว
|
|
|
นิปฺปนฺโน
นิปฺผนฺโน (นิ ปท)
สำเร็จแล้ว
|
อุปฺปนฺโน
(อุ ปท)
เกิดขึ้นแล้ว, อุบัติแล้ว
|
||
|
ธาตุมี
ธ ภ เป็นที่สุด
ลบที่สุดธาตุ แปลง ต เป็น ทฺธ เช่น
|
||||
|
|
ธ
|
|
|
|
|
|
พุทฺโธ
(พุธ) (อันเขา) รู้แล้ว
|
พทฺโธ (พธ)
(อันเขา) ผูกแล้ว
|
กุทฺโธ (กุธ)
โกรธแล้ว
|
รุทฺโธ (รุธ)
(อันเขา) กั้นแล้ว
|
|
|
สุทฺโธ (สุธ)
หมดจดแล้ว
|
สิทฺโธ (สิธ)
สำเร็จแล้ว
|
ยุทฺโธ (ยุธ)
รบแล้ว
|
ปยุทฺโธ (ป ยุธ) รบแล้ว
|
|
|
ปฏิวิทฺโธ (ปฏิ วิธ) (อันเขา) แทงตลอดแล้ว
|
|
|
|
|
|
ภ
|
|
|
|
|
|
ลทฺโธ
(ลภ) (อันเขา) ได้แล้ว
|
อารทฺโธ (อา
รภ)
(อันเขา) ปรารภแล้ว
|
|
|
|
|
ห
|
|
|
|
|
|
นทฺโธ (นห)
(อันเขา) ผูกแล้ว
|
สนฺนทฺโธ (สํ
นห)
(อันเขา) ผูกแล้ว
|
|
|
|
|
ฒ
|
|
|
|
|
|
วุฑฺฒ
(วฑฺฒ) เจริญแล้ว
|
|
|
|
|
ธาตุมี
ม เป็นที่สุด
ลบที่สุดธาตุ แปลง ต เป็น นฺต เช่น
|
||||
|
|
ปกฺกนฺโต (ป กม) หลีกไปแล้ว
|
นิกฺขนฺโต (นิ
กม)
ออกแล้ว
|
สนฺโต (สม)
สงบแล้ว
|
ทนฺโต (ทม)
(อันเขา) ฝึกแล้ว
|
|
|
กิลนฺโต (กิลม)
ลำบากแล้ว
|
ปนฺโต (ป อม) สงัดแล้ว
|
วิพฺภนฺโต (วิ
ภม)
สึกแล้ว ‘หมุนไปผิด’
|
|
|
ธาตุมี
ร เป็นที่สุด
ลบที่สุดธาตุ แปลง ต เป็น ณฺณ
บ้าง อิณฺณ
บ้าง เช่น
|
||||
|
|
ปุณฺโณ (ปูร)
เต็มแล้ว
|
ติณฺโณ (ตร)
ข้ามแล้ว
|
รุณฺณํ (รุท)
การร้องไห้
|
|
|
|
ชิณฺโณ (ชร)
แก่แล้ว
|
ปริชิณฺโณ (ปริ
ชร)
แก่รอบแล้ว
|
กิณฺโณ (กิร)
เกลื่อนกล่นแล้ว
|
อากิณฺโณ (อา
กิร)
เกลื่อนกล่นแล้ว
|
|
|
สุจิณฺโณ (สุ
จร)
(อันเขา) ประพฤติดีแล้ว
|
อาจิณฺโณ (อา
จร)
(อันเขา) ประพฤติโดยเอื้อเฟื้อแล้ว
|
||
|
ธาตุมี
ส เป็นที่สุด
ลบที่สุดธาตุ แปลง ต เป็น ตฺถ
บ้าง
เช่น
|
||||
|
|
นิวตฺโถ
(นิ วส)
(อันเขา)? นุ่งแล้ว
|
ปสตฺโถ (ป สํส) (อันเขา) สรรเสริญแล้ว (ลบนิคคหิตด้วย)
|
|
|
|
ธาตุมี
ส เป็นที่สุด
ลบที่สุดธาตุ แปลง ต เป็น ฏฺฐ เช่น
|
||||
|
|
กฏฺโฐ (กส)
(อันเขา) ไถแล้ว
|
กิลิฏฺโฐ (กิลิส)
เศร้าหมองแล้ว
|
ตุฏฺโฐ
(ตุส) ยินดีแล้ว
|
ทฏฺโฐ (ทํส)
(อันเขา) กัดแล้ว
|
|
|
ทิฏฺโฐ (ทิส)
(อันเขา) เห็นแล้ว
|
ทุฏฺโฐ
(ทุส) (อันเขา) ประทุษร้ายแล้ว
|
ภฏฺโฐ (ภส)
พลาดแล้ว
|
อิฏฺโฐ (อิส)
(อันเขา) ปรารถนาแล้ว
|
|
|
นฏฺโฐ (นส)
พินาศแล้ว
|
นิวิฏฺโฐ (นิ
วิส)
ตั้งลงแล้ว
|
ปมุฏฺโฐ (ป มุส) (อันเขา) ลืมแล้ว
|
ปวิฏฺโฐ (ป วิส) เข้าไปแล้ว
|
|
|
ผุฏฺโฐ (ผุส)
(อันเขา) ถูกต้องแล้ว
|
ปรามฏฺโฐ
(ปรา มส)
(อันเขา) ยึดมั่นแล้ว
|
ปหฏฺโฐ (ป หส) ร่าเริงแล้ว
|
หฏฺโฐ (หส)
ร่าเริงแล้ว
|
|
|
อนุสิฏฺโฐ (อนุ
สาส)
(อันเขา) พร่ำสอนแล้ว
|
อามฏฺโฐ (อา
มส)
(อันเขา) จับต้องแล้ว
|
||
|
ธาตุมี
ช ฉ เป็นที่สุด
ลบที่สุดธาตุ แปลง ต เป็น ฏฺฐ เช่น
|
||||
|
|
ยิฏฺโฐ (ยช)
(อันเขา) บูชาแล้ว
|
สฏฺโฐ (สช)
ข้องแล้ว
|
ปุฏฺโฐ (ปุจฺฉ)
(อันเขา) ถามแล้ว
|
ภฏฺโฐ (ภนฺช)
(อันเขา) แบ่งแล้ว
|
|
ธาตุมี
ห เป็นที่สุด ลบที่สุดธาตุ แปลง ต เป็น ฬฺห
เช่น
|
||||
|
|
มุฬฺโห
มูฬฺโห
(มุห) หลงแล้ว
|
อชฺโฌคาฬฺโห (อธิ
โอ คาห)
หยั่งลงแล้ว
|
พาฬฺโห (พห)
มั่นคงแล้ว
|
รุฬฺโห (รุห)
งอกขึ้นแล้ว
|
|
|
อารุฬฺโห (อา
รุห)
งอกขึ้นแล้ว
|
วุฬฺโห (วห
วุห) (อันเขา) นำไปแล้ว
|
|
|
|
ธาตุที่แปลงเป็นอย่างอื่น
(เป็นกฎเกณฑ์เฉพาะธาตุนั้นๆ) เช่น
|
||||
|
|
หีโน (หา)
เสื่อมแล้ว
|
คิลาโน (คิเล)
เจ็บไข้แล้ว
|
ขีโณ (ขี)
สิ้นแล้ว
|
ทินฺโน (ทา)
(อันเขา) ให้แล้ว
|
|
|
ทตฺโต (ทา)
(อันเขา) ให้แล้ว
|
สลฺลีโน (สํ
ลี)
ซ่อนเร้นแล้ว
|
ภจฺโจ (ภร)
(อันเขา) เลี้ยงแล้ว
|
ทฑฺโฒ (ทห)
(อันไฟ) ไหม้แล้ว
|
|
|
ฉุฑฺโฑ (ฉุภ)
(อันเขา) ทิ้งแล้ว
|
นิวตฺโต (นิ
วต)
กลับแล้ว
|
ปยโต (ป ยต) (อันเขา) ชำระแล้ว
|
ทฑฺโฒ (ทห)
ไหม้แล้ว, (อันไฟ) เผาแล้ว
|
|
|
ปกฺขนฺโต (ป ขทิ) แล่นไปแล้ว
|
พนฺโธ (พธ
พนฺธ) (อันเขา) ผูกแล้ว
|
|
|
|
|
สมาหิโต (สํ
อา ธา)
ตั้งมั่นแล้ว แปลง ธา
เป็น ห แปลงนิคคหิตเป็น ม ลง อิ อาคม
|
|||
|
|
ปณิหิต (ป
นิ ธา)
ตั้งมั่นแล้ว แปลง ธา
เป็น ห แปลง น เป็น ณ ลง
อิ อาคม
|
|||
|
|
นิหิโต (นิ
ธา)
(อันเขา) ตั้งแล้ว แปลง
ธา เป็น ห ลง อิ อาคม
|
|||
|
|
นิสฺสิโต อาศัยแล้ว (ซึ่ง)
|
นจฺโจ
นฏฺโฏ
(นต) ฟ้อนรำแล้ว
|
คีตํ (เค)
ขับร้องแล้ว
|
โรทิโต (รุธ)
ร้องไห้แล้ว
|
|
|
อุเปโต (อุป
อิ)
เข้าถึงแล้ว
|
วุตฺโถ (วส)
อยู่แล้ว
|
อธิวตฺโถ
อธิวุตฺโถ
(วส) (อันเขา) อยู่ทับแล้ว/ให้อยู่ทับแล้ว
(รับนิมนต์)
|
|
|
|
ชาโต (ชน)
เกิดแล้ว
|
ปกฺโก (ปจ)
(อันเขา) หุงแล้ว, สุกแล้ว
|
สุกฺโก
สุกฺโข
(สุส สุจ) แห้งแล้ว
|
สกฺโก (สก)
อาจแล้ว
|
|
|
โอมุกฺโก (โอ
มุจ)
ถอดออกแล้ว
|
|
|
|
ถ้าไม่แปลงธาตุ และ ปัจจัย ให้ลง อิ อาคมหลังธาตุ เช่น กริตฺวา (ทำแล้ว), คมิตฺวา (ไปแล้ว), ยาจิตฺวา (ขอแล้ว), ขาทิตฺวา (เคี้ยวกินแล้ว), นิกฺขมิตฺวา (ออกแล้ว), ปิวิตฺวา (ดื่มแล้ว)หลังธาตุ 8 หมวด ให้ลงปัจจัยประจำหมวดธาตุก่อน เช่น ลภิตฺวา (ได้แล้ว), มุญฺจิตฺวา (ปล่อยแล้ว), รชฺชิตฺวา (ย้อมแล้ว), สุณิตฺวา (ฟังแล้ว), กีนิตฺวา (ซื้อแล้ว), ชินิตฺวา (ชนะแล้ว), คณฺหิตฺวา (ถือเอาแล้ว), สกฺกิตฺวา (อาจแล้ว-ลบ โอ ปัจจัย), สกฺขิตฺวา (สกฺข) (อาจแล้ว), โจเรตฺวา (ลักแล้ว), จินฺตยิตฺวา จินฺเตตฺวา (คิดแล้ว)ธาตุมี ม น เป็นที่สุด แปลงเป็น นฺ เช่น คนฺตฺวา (ไปแล้ว), หนฺตฺวา (ฆ่าแล้ว)แปลง ตฺวา เป็น อา ยาน อิย ฏฺฐุํ เฉพาะธาตุบางตัวที่มีอุปสัคเป็นบทหน้า เช่น อา : ปฏิสงฺขา (ปฏิ สํ ขา) พิจารณาแล้ว, อนาปุจฺฉา (น อา ปุจฺฉ) ไม่อำลาแล้ว ยาน : สมเวกฺขิยาน (สํ อว อิกฺข) พิจารณาแล้ว อิย : อปจฺจเวกฺขิย (น ปฏิ อว อิกฺข) ไม่พิจารณาแล้ว ฏฺฐุํ : อภิหฏฺฐุํ (อภิ หร) นำไปยิ่งแล้วลบที่สุดธาตุ เช่น กตฺวา (กร) ทำแล้ว, ภุตฺวา (ภุช) กินแล้ว, ปตฺวา (ปท) ถึงแล้ว, วตฺวา (วท) กล่าวแล้วเฉพาะ ทิส ธาตุ แปลง ตฺวา เป็น สฺวา, ตฺวาน เป็น สฺวาน เช่น ทิสฺวา ทิสฺวาน
|
|
อาทาย
(อา ทา)
ถือเอาแล้ว
|
ปริยาทาย
(ปริ อา ย ทา)
ถือเอารอบแล้ว
|
สมาทาย
(สํ อา ทา)
สมาทานแล้ว
|
ปหาย
(ป หา)
ละแล้ว
|
|
|
โอหาย
(โอ หา)
ละแล้ว
|
วุฏฺฐาย
(อุ วฺ ฐา)
ออกแล้ว
|
อธิฏฺฐาย
(อธิ ฐา)
ตั้งทับแล้ว, อธิษฐานแล้ว
|
|
|
|
อุฏฺฐาย
(อุ ฐา)
ตั้งขึ้นแล้ว
|
ปจฺจุฏฺฐาย
(ปติ อุ ฐา)
กลับลุกขึ้นแล้ว
|
สมุฏฺฐาย
(สํ อุ ฐา)
ตั้งขึ้นพร้อมแล้ว
|
|
|
|
ปติฏฺฐาย
(ปติ ฐา)
ตั้งอยู่เฉพาะแล้ว
|
|
||
|
|
ปฏฺฐาย (ป ฐา) ตั้งก่อนแล้ว แต่ใช้เป็นกิริยาวิเสสนะ
แปลว่า ตั้งแต่, ตั้งก่อน, จำเดิม
|
|||
|
|
นิสฺสาย
(นิ สี)
อาศัยแล้ว
|
อญฺญาย
(อา ญา)
รู้ทั่วแล้ว
|
อนฺวาย (อนุ
อิ)
เป็นไปตามแล้ว, อาศัยแล้ว
|
|
|
|
ปจฺจกฺขาย
(ปติ ขา)
บอกคืนแล้ว
|
อภิภุยฺย
(อภิ ภู)
ครอบงำแล้ว
|
อภิวิชิย
(อภิ ชิ)
ชนะยิ่งแล้ว
|
|
|
|
ปฏิสํขา
ปฏิสงฺขา ปฏิสงฺขาย (ปฏิ สํ ขา) พิจารณาแล้ว
|
|
|
|
|
|
สนฺธาย
(สํ ธา)
หมายเอาแล้ว ใช้เป็นกิริยาวิเสสนะ
แปลว่า หมายเอา
|
|
|
|
|
ธาตุมี
มฺ เป็นที่สุด แปลง ย กับที่สุดธาตุ เป็น มฺม
เช่น
|
||||
|
|
อาคมฺม
(อา คม)
มาแล้ว, อาศัยแล้ว
|
อุปคมฺม
(อุป คม)
เข้าไปใกล้แล้ว
|
นิสมฺม
(นิ สม)
ใคร่ครวญแล้ว
|
อภิรมฺม
(อภิ รม)
ยินดียิ่งแล้ว
|
|
|
นิกฺขมฺม
(นิ กม)
ออกแล้ว
|
โอกฺกมฺม
(โอ กม)
ก้าวลงแล้ว, หยั่งลงแล้ว
|
|
|
|
ธาตุมี
ท เป็นที่สุด แปลง ย กับที่สุดธาตุ เป็น ชฺช
เช่น
|
||||
|
|
อุปฺปชฺช
(อุ ปท)
เกิดขึ้นแล้ว
|
ปมชฺช
(ป มท) ประมาทแล้ว
|
อจฺฉิชฺช
(อา ฉิท)
ชิงเอาแล้ว
|
นิสชฺช
(นิ สท สิท)
นั่งแล้ว
|
|
ธาตุมี
ธ ภ เป็นที่สุด แปลง ย กับที่สุดธาตุ เป็น ทฺธา พฺภ
เช่น
|
||||
|
|
วิทฺธา
(วิธ) แทงแล้ว
|
ลทฺธา
ลทฺธ
(ลภ) ได้แล้ว
|
อารพฺภ
อารทฺธ
(รภ) ปรารภแล้ว
|
|
|
ธาตุมี
ห เป็นที่สุด แปลง ย กับที่สุดธาตุ เป็น ยฺห เช่น
|
||||
|
|
ปคฺคยฺห
(ป คห)
ประคองแล้ว
|
สนฺนยฺห
(สํ นห)
ผูกแล้ว
|
อารุยฺห
(อา รุห)
ขึ้นแล้ว
|
ปสยฺห
(ป สห)
กดขี่แล้ว
|
|
|
อพฺพุยฺห
(อา วุห)
ถอนแล้ว
|
โอรุยฺห (โอ
รุห)
ลงแล้ว
|
|
|
|
แปลง
ย กับที่สุดธาตุเหล่านี้ เป็น จฺจ ดังนี้
|
||||
|
|
ปฏิจฺจ
(ปฏิ อิ
‘ไป ถึง’) อาศัยแล้ว
|
อเวจฺจ
(อว อิ)
ลงไปแล้ว, หยั่งลงแล้ว
|
อติจฺจ
(อติ อิ)
เป็นไปล่วงแล้ว, ก้าวล่วงแล้ว
|
|
|
|
ปริจฺจ
(ปริ อิ)
กำหนดแล้ว
|
อภิสเมจฺจ
(อภิ สํ อิ)
บรรลุแล้ว
|
สเมจฺจ
(สํ อิ)
ถึงพร้อมแล้ว, พิจารณาแล้ว
|
|
|
|
เปจฺจ
(ป อิ)
ละไปแล้ว
|
อเปจฺจ
(อุป อิ) เข้าไปแล้ว
|
อุปหจฺจ
(อุป หน)
เข้าไปกระทบแล้ว, จดแล้ว
|
|
|
|
อาหจฺจ
(อา หน)
กระทบแล้ว
|
อูหจฺจ
(อุ หน)
ถอนขึ้นแล้ว
|
อนุวิจฺจ
(อนุ วิท ‘รู้’ ) พิจารณาแล้ว
|
|
|
|
สกฺกจฺจ
(สํ กร)
ทำโดยดีแล้ว
|
อธิกิจฺจ
(อธิ กร)
ทำยิ่งแล้ว
|
วิวิจฺจ
(วิ วิจ)
สงัดแล้ว
|
สญฺจิจฺจ
(สํ จิต)
แกล้ง, จงใจแล้ว
|
|
แปลง
ย กับที่สุดธาตุเป็นอย่างอื่น
|
||||
|
|
อุทฺทิสฺส
(อุ ทิส)
เจาะจงแล้ว แต่ใช้เป็นกิริยาวิเสสนะ แปลว่า เจาะจง
|
ปวิสฺส
(ป วิส)
เข้าไปแล้ว
|
|
|
|
|
ปฏิหิญฺญ
(ปฏิ หน)
กระทบเฉพาะแล้ว
|
|
|
วทนฺต
แจกอย่าง
ภควนฺตุ (ยกเว้น ป. เอก.)
|
|||
|
ป.
ทุ. ต. จ. ปญ. ฉ. ส. อา. |
วทํ
วทนฺตํ วทตา วทโต วทตา วทโต วทติ วทนฺเต วท วทํ |
วทนฺตา
วทนฺโต
วทนฺเต วทนฺโต วทนฺเตหิ วทนฺเตภิ วทตํ วทนฺตานํ วทนฺเตหิ วทนฺเตภิ วทตํ วทนฺตานํ วทนฺเตสุ วทนฺตา วทนฺโต |
กโรนฺต
แจกอย่าง
ภควนฺตุ (ยกเว้น ป. เอก.)
|
|||
|
ป.
ทุ. ต. จ. ปญ. ฉ. ส. อา. |
กรํ
กโรนฺตํ กรตา กรโต กรตา กรโต กรติ กโรนฺเต กร กรํ |
กโรนฺตา
กโรนฺโต
กโรนฺเต กโรนฺโต กโรนฺเตหิ กโรนฺเตภิ กรตํ กโรนฺตานํ กโรนฺเตหิ กโรนฺเตภิ กรตํ กโรนฺตานํ กโรนฺเตสุ กโรนฺตา กโรนฺโต |
สนฺต (อส
ธาตุ ลง อนฺต ปัจจัย แล้วลบต้นธาตุ) แจกอย่าง ภควนฺตุ (ยกเว้น ป. เอก.)
|
|||
|
ป.
ทุ. ต. จ. ปญ. ฉ. ส. อา. |
สตํ
สนฺตํ สตา สโต สตา สโต สติ สนฺเต สต สตํ |
สนฺตา
สนฺโต
สนฺเต สนฺโต สนฺเตหิ สนฺเตภิ สตํ สนฺตานํ สนฺเตหิ สนฺเตภิ สตํ สนฺตานํ สนฺเตสุ สนฺตา สนฺโต |
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบแม่งงงชิบ
ตอบลบ