วันพฤหัสบดีที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

นามกิตก์ กิตตกิจจปัจจัย สาธนะทั้ง 7 มี 7 คือ อ อิ ณ ตเว ติ ตุํ ยุ

กิตกิจจปัจจัย เป็นเครื่องหมาย สาธนะทั้ง 7   มี คือ    อิ    ตเว  ติ  ตุํ  ยุ

กิตกิจจปัจจัย เป็นเครื่องหมายสาธนะทั้ง 7
ปัจจัย
อ ปัจจัย เป็นได้หลายสาธนะ  มีอำนาจให้พฤทธิ์ได้ปุงลิงค์ แจกอย่าง ชนอิตถีลิงค์ เป็น อา การันต์ แจกอย่าง กญฺญานปุงสกลิงค์ แจกอย่าง กุล (ป. เอก.  ธมฺมธโรธมฺมธราธมฺมธรํ)
เป็น อุ อู    พฤทธิ์ อุ อู เป็น โอ    แปลง โอ เป็น อว
เป็น อิ อี    พฤทธิ์ อิ อี เป็น เอ    แปลง เอ เป็น อย
ต้นธาตุเป็น อุ    พฤทธิ์ อุ  เป็น โอ
ต้นธาตุเป็น อิ    พฤทธิ์ อิ  เป็น เอ
ต้นธาตุเป็น อ    ไม่พฤทธิ์
1.
ธาตุพยางค์เดียว

อจฺจโย
อิ
อจฺจยนํ อจฺจโย ความก้าวล่วง  อติ-อิ-อ  ภาว. ภาว.

วินิจฺฉโย
จิ
วินิจฺฉิยเต เตนาติ วินิจฺฉโย (อุปาโย) เป็นเครื่องอันเขาตัดสิน  วิ-นิ-จิ-อ  แปลง จ เป็น ฉ  ซ้อน จฺ  กัมม. กรณ.



วินิจฺฉยนํ วินิจฺฉโย การตัดสิน

สนฺนิจโย
จิ
สนฺนิจยนํ  สนฺนิจโย การสั่งสม  สํ-นิ-จิ

อุจฺจโย
จิ
อุจฺจยนํ อุจฺจโย ความสั่งสม  อุ-จิ-อ

ปริจโย
จิ
ปริจยนํ ปริจโย ความสั่งสม  ปริ-จิ-อ

ชโย
ชิ
ชยนํ  ชโย  ความชนะ  ชิ-อ

วิชโย
ชิ
วิชยนํ วิชโย ความชนะ  วิ-ชิ-อ

ปราชโย
ชิ
ปราชยนํ ปราชโย ความแพ้   ปรา-ชิ-อ

อภิชฺฌา
เฌ
อภิมุขํ ฌายตีติ  อภิชฺฌา (ธมฺมชาติ) ผู้เพ่งเล็ง  อภิ-เฌ-อ   กัตตุ. กัตตุ.



อภิชฺฌนํ  อภิชฺฌา การเพ่งเล็ง

ปญฺญา
ญา
ปชานาตีติ  ปญฺญา (ธมฺมชาติ) ผู้รู้ทั่ว, ปัญญา  ป-ญา-อ  กัตตุ. กัตตุ.

สญฺญา
ญา
สญฺชานาตีติ  สญฺญา (ธมฺมชาติ) ผู้รู้พร้อม, ผู้จำได้  สํ-ญา-อ  กัตตุ. กัตตุ.

อญฺญํ
ญา
อาชานิตพฺพนฺติ/อญฺญาตพฺพนฺติ อญฺญํ (อรหตฺตผลํ) อันเขาพึงรู้ทั่ว  อา-ญา-อ  กัมม. กัมม.

ปติฏฺฐา
ฐา
ปติฏฺฐานํ  ปติฏฺฐา ความตั้งมั่น, (ที่พึ่ง)  ปติ-ฐา-อ  ภาว. ภาว.  ซ้อน ฏฺ

มคฺคผลฏฺโฐ
ฐา
มคฺคผเล ติฏฺฐตีติ มคฺคผลฏฺโฐ ผู้ตั้งอยู่ในมรรคและผล  มคฺคผล-ฐา-อ  กัตตุ. กัตตุ.

ธมฺมฏฺโฐ
ฐา
ธมฺเม ติฏฺฐตีติ ธมฺมฏฺโฐ ผู้ตั้งอยู่ในธรรม  ธมฺม-ฐา-อ  กัตตุ. กัตตุ.

ภุมฺมฏฺโฐ
ฐา
ภุมฺเม ติฏฺฐตีติ ภุมฺมฏฺโฐ (เทโว) ผู้ดำรงอยู่บนภาคพื้น  ภุมฺม-ฐา-อ  กัตตุ. กัตตุ.

ปพฺพตฏฺโฐ
ฐา
ปพฺพเต ติฏฺฐตีติ ปพฺพตฏฺโฐ (ชโน) ผู้ยืนที่ภูเขา  ปพฺพต-ฐา-อ  กัตตุ. กัตตุ.

อายุโท
ทา
อายุํ ททาตีติ อายุโท (ชโน) ผู้ให้ซึ่งอายุ  อายุ-ทา-อ  กัตตุ. กัตตุ.

อุปาทา
ทา
อุปาทียเตติ  อุปาทา (ตณฺหา) อันเขายึดถือ  อุป-อา-ทา-อ  กัมม. กัมม.

ปุรินฺทโท
ทา
ปุเร อททีติ ปุรินฺทโท (สกฺโก) ผู้ให้ก่อน  ปุร-ทา-อ  กัตตุ. กัตตุ.  แปลง อ ที่ ร เป็น อึ  เอานิคคหิต เป็น นฺ

นโย
นี
นยนํ  นโย  การนำไป  นี-อ

วินโย
นี
วิเนติ เอเตนาติ วินโย (อุปาโย) เป็นเครื่องแนะนำ (ของบัณฑิต)  วิ-นี-อ  กัตตุ. กรณ.

ปาทโป
ปา
ปาเทน ปิวตีติ ปาทโป (รุกฺโข) ผู้ดื่มด้วยราก, ต้นไม้  ปาท-ปา-อ  กัตตุ. กัตตุ.

กจฺฉโป
ปา
กจฺเฉ ปิวตีติ กจฺฉโป (สตฺโต) ผู้หากินในที่ชื้นแฉะ, เต่า  กจฺฉ-ปา-อ  กัตตุ. กัตตุ.

ภโว
ภู
ภวติ เอตฺถาติ ภโว (ปเทโส) เป็นที่เกิด (แห่งสัตว์)  ภู-อ  กัตตุ. อธิกรณ.

ปภโว
ภู
ปฐมํ ภวติ เอตสฺมาติ ปภโว (ปเทโส) เป็นแดนเกิดก่อน (แห่งแม่น้ำ) ป-ภู-อ  กัตตุ. อปาทาน.

วิภโว
ภู
วิภวิตพฺโพติ วิภโว (โภโค) อันเขาพึงเสวย  วิ-ภู-อ

อนุสโย
สี
อนุเสตีติ อนุสโย (กิเลโส) อันนอนเนื่อง  อนุ-สี-อ  กัตตุ. กัตตุ.

นิสฺสโย
สี
นิสฺสยติ นนฺติ นิสฺสโย (อาจริโย) เป็นที่อาศัย (ของศิษย์)  นิ-สี-อ  กัตตุ. กัมม.



นิสฺสาย นํ วสตีติ นิสฺสโย (อาจริโย) เป็นที่อาศัยอยู่ (ของศิษย์)  กัตตุ. กัมม.

อาสโย
สี
อาคนฺตฺวา สยติ เอตฺถาติ อาสโย (กิเลโส) เป็นที่มานอน, เป็นที่อาศัย (แห่งชน) อา-สี-อ   กัตตุ. อธิกรณ.

อาลโย
ลี
อาลียติ เอตฺถาติ อาลโย (กิเลโส) เป็นที่อันเขาติด  อา-ลี-อ   กัตตุ. อธิกรณ.
2.
ธาตุหลายพยางค์

กถา
กถ
กเถติ เอตายาติ  กถา (วาจา) เป็นเครื่องกล่าว (แห่งชน)  กถ-อ    กัตตุ. กรณ.

อตฺถกถา
กถ
อตฺถํ กเถติ เอตายาติ  อตฺถกถา (วาจา) เป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความ (แห่งชน) อตฺถ-กถ-อ กัตตุ. กรณ.



อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ  อตฺถกถา (วาจา) เป็นเครื่องอันเขากล่าวซึ่งเนื้อความ (แห่งชน)  กัมม. กรณ.

วิจิกิจฺฉา
กิต
วิจิกิจฺฉนํ  วิจิกิจฺฉา  ความลังเลสงสัย  วิ-กิต-ฉ-อ

ชิฆจฺฉา
ฆส
ฆสิตุํ อิจฺฉา ชิฆจฺฉา  ความหิว, ความปรารถนาจะกิน   ฆส-ฉ-อ

ชโน
ชน
ชายตีติ ชโน ผู้เกิด  ชน-อ


ชน
กุสลากุสลํ ชเนตีติ ชโน ผู้ยังกุศลและอกุศลให้เกิด  ชน-อ

ชรา
ชร
ชีรณํ ชรา ความแก่  ชร-อ

ติติกฺขา
ติช
ติติกฺขนํ  ติติกฺขา ความอดกลั้น  ติช-ข-อ 

นินฺทา
นินฺท
นินฺทนํ นินฺทา การติเตียน  นิทิ-อ 

ปฏิปทา
ปท
ปฏิปชฺชติ เอตายติ ปฏิปทา (ธมฺมชาติ) เป็นเครื่องปฏิบัติ (แห่งชน)  ปฏิ-ปท-อ   กัตตุ. กรณ.

ปุจฺฉา
ปุจฺฉ
ปุจฺฉนํ  ปุจฺฉา การถาม  ปุจฺฉ-อ 

ปูชา
ปูช
ปูชนํ  ปูชา  การบูชา  ปูช-อ

ปฏิสมฺภิทา
ภิท
ปฏิสมฺภิชฺชตีติ ปฏิสมฺภิทา (ปญฺญา) อันแตกฉานดีโดยต่าง  ปฏิ-สํ-ภิท-อ   กัตตุ. กัตตุ.

ลชฺชา
ลชฺช
ลชฺชนํ  ลชฺชา ความละอาย  ลชฺช-อ

ปสํสา
สํส
ปสํสนํ  ปสํสา ความสรรเสริญ  ป-สํส-อ

สิกฺขา
สิกฺข
สิกฺขิยตีติ สิกฺขา (ธมฺมชาติ) อันเขาศึกษา  สิกฺข-อ   กัมม. กัมม.



สิกฺขนํ สิกฺขา การศึกษา

อุเปกฺขา
อิกฺข
อุเปกฺขตีติ  อุเปกฺขา (ธมฺมชาติ) ผู้วางเฉย,   อุป-อิกฺข-อ  "เข้าไปดู"   กัตตุ. กัตตุ.



อุเปกฺขนํ  อุเปกฺขา การวางเฉย  

อติกฺกโม
กม
อติกฺกมนํ  อติกฺกโม การก้าวล่วง, การล่วงเกิน  อติ-กม-อ 

ทินกโร
กร
ทินํ  กโรตีติ  ทินกโร ผู้ทำซึ่งวัน, พระอาทิตย์, ทินกร  ทิน-กร-อ   กัตตุ. กัตตุ.

หิตกฺกโร
กร
หิตํ  กโรตีติ  หิตกฺกโร ผู้ทำซึ่งประโยชน์เกื้อกูล  หิต-กร-อ   กัตตุ. กัตตุ.

เวยฺยาวจฺจกโร
กร
เวยฺยาวจฺจํ กโรตีติ  เวยฺยาวจฺจกโร ผู้ทำซึ่งความขวนขวาย  เวยฺยาวจฺจ-กร-อ   กัตตุ. กัตตุ.

กลโห
กลห
กลหนฺติ เอตฺถาติ  กลโห (วาโท) เป็นที่โต้เถียง (แห่งชน)  กลห-อ  กัตตุ. อธิกรณ.

โอวาทกฺขโม
ขม
โอวาทสฺส ขมตีติ  โอวาทกฺขโม (สารีปุตฺโต) ผู้อดทนต่อโอวาท  โอวาท-ขม-อ  กัตตุ. กัตตุ.

วจนกฺขโม
ขม
วจนสฺส ขมตีติ  วจนกฺขโม ผู้อดทนต่อถ้อยคำ  วจน-ขม-อ  กัตตุ. กัตตุ.

จิตฺตกฺเขโป
ขิป
จิตฺตสฺส เขปนํ  จิตฺตกฺเขโป ความกระสับกระส่ายแห่งจิต  จิตฺต-ขิป-อ   

สมาคโม
คม
สํ อาคมนํ สมาคโม การมาพร้อมกัน  สํ-อา-คม-อ  

เคหํ
คห
คยฺหเตติ เคหํ (วตฺถุ) อันเขาถือเอา-ยึดครอง  คห-อ  แปลง อ ต้นธาตุ เป็น เอ   กัมม. กัมม.

วิคฺคโห
คห
วิคฺคยฺหนฺติ เอตฺถาติ  วิคฺคโห (เหตุ) เป็นที่ถกเถียง  วิ-คห-อ  กัตตุ. อธิกรณ.

ปคฺคโห
คห
ปคฺคหนํ ปคฺคโห การยกย่อง  ป-คห-อ

สงฺคโห
คห
สงฺคหนํ สงฺคโห การสงเคราะห์  สํ-คห-อ 



สงฺคเหตพฺโพติ สงฺคโห (ชโน) อันเขาพึงสงเคราะห์   กัมม. กัมม.



สงฺคเหตพฺโพ เตนาติ สงฺคโห (อาหาโร) เป็นเครื่องอันเขาพึงสงเคราะห์ (แห่งชน)   กัมม. กรณ.

โคจโร
จร
คาโว จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร (ปเทโส) เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค  โค-จร-อ  กัตตุ. อธิกรณ.

เอกจโร
จร
เอโก จรตีติ  เอกจโร (นาโค) ผู้เที่ยวไปผู้เดียว  เอก-จร-อ  กัตตุ. กัตตุ.

สพฺพญฺชโห
ชห
สพฺพธมฺมํ ชหตีติ สพฺพญฺชโห ผู้สละซึ่งธรรมทั้งปวง  สพฺพ-ชห-อ  กัตตุ. กัตตุ.

ชาคโร
ชาคร
ชาคโรตีติ  ชาคโร ผู้ตื่น  ชาคร-อ    กัตตุ. กัตตุ.



ชาครณํ ชาคโร การตื่น  ชาคร-อ  

สนฺถโว
ถุ
สํสนฺถวนํ สนฺถโว ความคุ้นเคย  สํ-ถุ-อ 

อาตโป
ตป
อา สมนฺตโต ตปตีติ  อาตโป (สภาโว) อันเร่าร้อน  อา-ตป-อ  กัตตุ. กัตตุ. (สมนฺตโต โดยรอบ)

ทโม
ทม
ทมนํ  ทโม การฝึก, การทรมาน  ทม-อ  

เทโว
ทิว
ทิพฺพตีติ เทโว (ชโน) ผู้เล่น, เทพ  ทิว-อ  กัตตุ. กัตตุ.

อุปทฺทโว
ทุ
อุปคนฺตฺวา ทวตีติ  อุปทฺทโว (สภาโว) อันเข้าไปเบียดเบียน  อุป-ทุ-อ  กัตตุ. กัตตุ.

วิชฺชาธโร
ธร
วิชฺชํ ธาเรตีติ  วิชฺชาธโร ผู้ทรงไว้ซึ่งความรู้  วิชฺชา-ธร-อ

วินยธโร
ธร
วินยํ ธาเรตีติ  วินยธโร ผู้ทรงไว้ซึ่งวินัย  วินย-ธร-อ

ธมฺมธโร
ธร
ธมฺมํ ธาเรตีติ  ธมฺมธโร ผู้ทรงไว้ซึ่งธรรม  ธมฺม-ธร-อ

กาสาวธโร
ธร
กาสาวํ ธาเรตีติ  กาสาวธโร ผู้ทรงไว้ซึ่งผ้ากาสาวะ  กาสาว-ธร-อ

ติปิฏกธโร
ธร
ติปิฏกานิ ธาเรตีติ  ติปิฏกธโร ผู้ทรงไว้ซึ่งปิฎก ติปิฏก-ธร-อ

ชุตินฺธโร
ธร
ชุตึ ธาเรตีติ  ชุตินฺธโร (พุทฺโธ) ผู้ทรงไว้ซึ่งความรุ่งเรือง  ชุติ-ธร-อ

ปํสุกูลธโร
ธร
ปํสุกูลํ ธาเรตีติ  ปํสุกูลธโร (ภิกฺขุ) ผู้ทรงไว้ซึ่งผ้าบังสุกุล  ปํสุกูล-ธร-อ

อิทฺธิมยปตฺตจีวรธโร
ธร
อิทฺธิมยํ ปตฺตจีวรํ ธาเรตีติ  อิทฺธิมยปตฺตจีวรธโร (ภิกฺขุ) ผู้ทรงไว้ซึ่งบาตรและจีวรอันสำเร็จแล้วด้วยฤทธิ์  อิทฺธิมยปตฺตจีวร-ธร-อ

อุตฺตมรูปธรา
ธร
อุตฺตมํ รูปํ ธาเรตีติ  อุตฺตมรูปธรา (มาคนฺทิยา) ผู้ทรงไว้ซึ่งรูปอันสูงสุด  อุตฺตมรูป-ธร-อ

อานนฺโท
นนฺท
อา ภุโส นนฺทยตีติ  อานนฺโท ความยินดียิ่ง  อา-นนฺท-อ   (ภุโส โดยยิ่ง)

นิปโก
ปจ
นิสฺเสสโต ปาเจติ กุสลธมฺเมติ  นิปโก ผู้ยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ  นิ-ปจ-อ    กัตตุ. กัตตุ.

สมฺปทา
ปท
สมฺปชฺชนํ สมฺปทา ความถึงพร้อม  สํ-ปท-อ



สมฺปชฺชติ เอตายาติ  สมฺปทา (คุณชาติ) เป็นเครื่องถึงพร้อม (แห่งชน)    กัตตุ. กรณ.

ปปญฺโจ
ปจิ
(สตฺเต) ปปญฺจาเปติ เตนาติ ปปญฺโจ (ธมฺโม) เป็นเครื่องยังสัตว์ให้เนิ่นช้า  ป-ปจิ-อ  กัตตุ. กรณ.



ปปญฺจียเตติ  ปปญฺโจ ความเนิ่นช้า 

ปิโย
ปิย
ปิยติ นนฺติ  ปิโย (ปุตฺโต) เป็นที่รัก (แห่งบิดา)   ปิย-อ    กัตตุ. กัมม.

พาธ
อาพาธตีติ  อาพาโธ (โรโค) ผู้เบียดเบียน  อา-พาธ-อ  กัตตุ. กัตตุ.

มาตาเปติภโร
ภร
มาตาปิตโร ภรตีติ  มาตาเปติภโร ผู้เลี้ยงซึ่งมารดาและบิดา  มาตาปิตุ-ภร-อ  กัตตุ. กัตตุ.

อตฺตภโร
ภร
อตฺตานํ ภรตีติ  อตฺตภโร ผู้เลี้ยงซึ่งตน  อตฺต-ภร-อ  กัตตุ. กัตตุ.

อตฺตสมฺภวํ
ภู
อตฺตนิ สมฺภวตีติ  อตฺตสมฺภวํ (ปาปํ) อันมีพร้อมในตน  อตฺต-สํ-ภู-อ  กัตตุ. กัตตุ.

โมกฺโข
มุจ
มุจฺจนํ โมกฺโข ความหลุดพ้น  มุจ-อ 



มุจฺจนฺติ ราคาทีหิ เอเตนาติ โมกฺโข (ธมฺโม) เป็นเครื่องหลุดพ้น (แห่งชน)   กัตตุ. กรณ.



มุจฺจนฺติ เอตฺถาติ โมกฺโข (ธมฺโม) เป็นที่หลุดพ้น (แห่งชน)  กัตตุ. อธิกรณ.

วิโมกฺโข
มุจ
วิมุจฺจนํ วิโมกฺโข ความหลุดพ้นวิเศษ  วิ-มุจ-อ 

สญฺญโม
ยมุ
สํยมนํ สญฺญโม ความสำรวม  สํ-ยมุ-อ

มโนรมา
รม
มโน รมติ เอตฺถาติ  มโนรมา (ภาสา) เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ  มน-รม-อ  กัตตุ. อธิกรณ.

รโส
รส
รสติ ตนฺติ  รโส (วิสโย) เป็นที่ยินดี  รส-อ  กัตตุ. กัมม.

สิโรรุโห
รุห
สิรสฺมึ/สิรสา รุหตีติ สิโรรุโห (อวยโว) อันงอกขึ้นที่ศีรษะ, ผม  สิร-รุห-อ  กัตตุ. กัตตุ.

วณฺณํ
วณฺณ
วณฺณิตพฺพนฺติ วณฺณํ (คุณชาตํ) อันเขาพึงพรรณนา  วณฺณ-อ  กัมม. กัมม.

อวณฺณํ
วณฺณ
อวณฺณิตพฺพนฺติ อวณฺณํ (วชฺชํ) อันเขาไม่พึงพรรณนา  น-วณฺณ-อ  กัมม. กัมม.

วโย
วย
วยติ  ปริหานึ คจฺฉตีติ วโย (สภาโว) ผู้เสื่อมไป  วย-อ  กัตตุ. กัตตุ.

สํวโร
วร
สํวรณํ สํวโร ความสำรวม  สํ-วร-อ 

วสฺสํ
วสฺส
วสฺสตีติ  วสฺสํ (อุทกํ) ผู้รด, ฝน   วสฺส-อ  กัตตุ. กัตตุ.



วสฺสติ เอตฺถาติ วสฺโส (กาโล) เป็นที่รด, กาลฝน, ฤดูฝน   กัตตุ. อธิกรณ.

สุขาวหํ
วห
สุขํ อาวหตีติ  สุขาวหํ (ทานํ) อันนำมาซึ่งสุข  สุข-อา-วห-อ  กัตตุ. กัตตุ.

หิตาวหํ
วห
หิตํ อาวหตีติ  หิตาวหํ (ทานํ) อันนำมาซึ่งประโยชน์เกื้อกูล  หิต-อา-วห-อ  กัตตุ. กัตตุ.

สํสคฺโค
สช
สํ สชฺชนํ สํสคฺโค ความเกี่ยวข้อง  สํ-สช-อ



สํสชฺชติ เตนาติ สํสคฺโค (กิเลโส) เป็นเครื่องข้อง (แห่งชน)   กัมม. กรณ.

นิสฺสนฺโท
สนฺท
นิสฺสนฺเทติ เตนาติ  นิสฺสนฺโท (วิปาโก) เป็นเครื่องไหลออก (แห่งกรรม) นิ-สนฺท-อ  กัตตุ. กรณ.

หิรินิเสโธ
สิธุ
(อนฺโต อุปฺปนฺนํ อกุสลวิตกฺกํ) หิริยา นิเสเธตีติ  หิรินิเสโธ (ภิกฺขุ) ผู้ห้ามซึ่งอกุศลวิตกด้วยหิริ  หิริ-นิ-สิธุ-อ   กัตตุ. กัตตุ.

กุสีโต
สีท
กุจฺฉิตํ สีทตีติ  กุสีโต ผู้จมลงสู่อาการอันบัณฑิตเกลียดแล้ว  กุจฺฉิต-สีท-อ  คงไว้แต่ กุ  แปลง ท เป็น ต   กัตตุ. กัตตุ.



กุจฺฉิเตน อากาเรน สีทตีติ  กุสีโต ผู้จมลงโดยอาการอันบัณฑิตเกลียดแล้ว   กัตตุ. กัตตุ.

วโธ
หน
หนตีติ  วโธ ผู้ฆ่า  หน-อ



หนนํ  วโธ การฆ่า

วาณิโช
อช
วาณาย อิโต จิโต จ อชตีติ  วาณิโช ผู้ไปเพื่อการค้า, พ่อค้า   วาณ-อช-อ  กัตตุ. กัตตุ.

ปูชารโห
อรห
ปูชํ อรหตีติ  ปูชารโห (ภิกฺขุ) ผู้ควรซึ่งการบูชา  ปูชา-อรห-อ    กัตตุ. กัตตุ.

สมฺปราโย
อิ
สํ ปรํ ยาตพฺโพติ สมฺปราโย (ปรโลโก) อันสัตว์พึงถึงในเบื้องหน้าพร้อม  สํ-ปรํ-อิ-อ  กัมม. กัมม.

ปจฺจูโส
อูส
ปจฺจูเสติ ติมรนฺติ  ปจฺจูโส (กาโล) อันกำจัดเฉพาะซึ่งความมืด  ปฏิ-อูส-อ  กัตตุ. กัตตุ.

อปฺปิจฺโฉ
อิส
อปฺปํ อิจฺฉตีติ  อปฺปิจฺโฉ ผู้ปรารถนาน้อย  อปฺป-อิส-อ  กัตตุ. กัตตุ.

สิรึสโป
สปฺป
สิเรน สปฺปตีติ  สิรึสโป (สตฺโต) ผู้เสือกไปด้วยศีรษะ  สิร-สปฺป-อ  เอา อ ที่ ร เป็น อึ  ลบ ปฺ  กัตตุ. กัตตุ.

อนฺตลิกฺขจโร
จร
อนฺตลิกฺเข  จรตีติ  อนฺตลิกฺขจโร ผู้เที่ยวไปในกลางหาว  อนฺตลิกฺข (กลางหาว)-จร-อ   กัตตุ. กัตตุ.

ลงหลังธาตุสำหรับตั้งเป็นชื่อ  ให้ลง นุ อาคม ที่ท้ายบทหน้า แล้วแปลง นุ เป็นนิคคหิต  แปลงนิคคหิตเป็นพยัญชนะที่สุดวรรค แล้วใช้เป็นอสาธารณนาม

ทีปงฺกโร
กร
ทีปํ  กโรตีติ  ทีปงฺกโร (พุทฺโธ) ผู้ทำซึ่งที่พึ่ง/แสงสว่าง  ทีป-กร-อ  พระนามของพระพุทธเจ้า

เวสฺสนฺตโร
ตร
เวสฺสสฺส รจฺฉํ ตรตีติ  เวสฺสนฺตโร (ราชา) ผู้ข้ามซึ่งตรอกแห่งพ่อค้า เวสฺส-ตร-อ  พระนามของพระราชา
เป็นได้หลายสาธนะ
เป็นปุงลิงค์  อิ การันต์  แจกอย่าง มุนิ
สำหรับลงหลัง ทา ธา ธาตุ เป็นต้น
กสิ
กส
กสนํ กสิ  การไถ  กส-อิ 
นิธิ
ธา
นิธิยเตติ นิธิ (ธนกุมฺโภ, สมฺปตฺติ) อันเขาฝังไว้   นิ-ธา-อิ   กัมม. กัมม.
สนฺธิ
ธา
สนฺธิยตีติ สนฺธิ (วาจา) อันเขาต่อ  สํ-ธา-อิ   กัมม. กัมม.
สนฺนิธิ
ธา
สนฺนิธานํ สนฺนิธิ การสั่งสม   สํ-นิ-ธา-อิ 
สมาธิ
ธา
เอกาลมฺพเน สํ สุฏฺฐุ อาธานํ สมาธิ ความตั้งมั่น  สํ-อา-ธา-อิ 


สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ (ธมฺโม) ผู้ตั้งจิตไว้โดยชอบ   กัตตุ. กัตตุ.
อุปาทิ
ทา
อุปาทิยเตติ อุปาทิ (ธมฺโม) อันกรรมกิเลสเข้าไปยึดไว้   อุป-อา-ทา-อิ   กัมม. กัมม.
อุทธิ
ธา
อุทกํ ทธาตีติ อุทธิ (ปเทโส) ผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ทะเล  อุทก-ธา-อิ   กัตตุ. กัตตุ.
นนฺทิ
นนฺท
นนฺทนํ นนฺทิ ความเพลิดเพลิน  นนฺท-อิ 
โพธิ
พุธ
พุชฺฌิสฺสตีติ/พุชฺฌตีติ  โพธิ (สตฺโต) ผู้จักตรัสรู้  พุธ-อิ  กัตตุ. กัตตุ.


พุชฺฌติ เตนาติ โพธิ (ญาณํ) เป็นเครื่องตรัสรู้ (แห่งชน)  กัตตุ. กรณ.


พุชฺฌติ เอตฺถาติ โพธิ (รุกฺโข) เป็นที่ตรัสรู้ (แห่งชน)  กัตตุ. อธิกรณ.
มุนิ
มุน
มุนาติ  ชานาติ  หิตาหิตํ  ปริจฺฉินฺทตีติ  มุนิ ผู้รู้   มุน-อิ   กัตตุ. กัตตุ.
รุจิ
รุจ
โรเจตีติ  รุจิ ผู้รุ่งเรือง   รุจ-อิ  กัตตุ. กัตตุ.


โรเจติ เอตายาติ  รุจิ (รํสิ) เป็นเหตุรุ่งเรือง  กัตตุ. กรณ.


รุจนํ รุจิ ความรุ่งเรือง, ความชอบใจ
ธมฺมรุจิ
รุจ
โรเจตีติ  ธมฺมรุจิ ผู้ชอบใจซึ่งธรรม  ธมฺม-รุจ-อิ  กัตตุ. กัตตุ.
ณ ปัจจัย  มีอำนาจให้พฤทธิ์ธาตุได้  แล้วลบ ณฺ เสีย
ณ ปัจจัย เป็นได้ทุกรูปทุกสาธนะ 
ปุงลิงค์  แจกอย่าง ชนอิตถีลิงค์  เป็น อา การันต์ แจกอย่าง กญฺญา   นปุงสกลิงค์ แจกอย่าง กุล
ธมฺมกาโม
กมุ
ธมฺมํ  กาเมตีติ  ธมฺมกาโม ผู้ใคร่ซึ่งธรรม  ธมฺม-กมุ-ณ
หิตกาโม
กมุ
หิตํ กาเมตีติ  หิตกาโม ผู้ใคร่ซึ่งประโยชน์  หิต-กมุ-ณ
กุมฺภกาโร
กร
กุมฺภํ กโรตีติ กุมฺภกาโร ผู้ทำซึ่งหม้อ  กุมฺภ-กร-ณ
กมฺมกาโร
กร
กมฺมํ กโรตีติ  กมฺมกาโร  ผู้ทำซึ่งการงาน  กมฺม-กร-ณ
มาลากาโร
กร
มาลํ กโรตีติ  มาลากาโร ผู้ทำซึ่งระเบียบ  มาลา-กร-ณ
มณิกาโร
กร
มณึ กโรตีติ  มณิกาโร ผู้ทำซึ่งแก้วมณี  มณิ-กร-ณ
สุวณฺณกาโร
กร
สุวณฺณํ กโรตีติ  สุวณฺณกาโร ผู้ทำซึ่งทอง  สุวณฺณ-กร-ณ
อุสุกาโร
กร
อุสุํ กโรตีติ  อุสุกาโร ผู้ทำซึ่งลูกศร  อุสุ-กร-ณ
อุปกาโร
กร
อุปคนฺตฺวา กโรตีติ  อุปกาโร (สภาโว) อันเข้าไปทำ, อันเข้าไปอุดหนุน  อุป-กร-ณ
โกโธ
กุธ
กุชฺฌตีติ  โกโธ ผู้โกรธ  กุธ-ณ


กุชฺฌติ ตสฺสาติ  โกโธ เป็นที่โกรธ (แห่งชน)


กุชฺฌนํ โกโธ ความโกรธ
โกโป
กุป
กุปฺปนํ โกโป ความกำเริบ  กุป-ณ
ขโย
ขี
ขียนํ ขโย ความสิ้นไป  ขี-ณ
ปริกฺขโย
ขี
ปริ ขียนํ ปริกฺขโย ความสิ้นไปรอบ  ปริ-ขี-ณ
ธนกฺขโย
ขี
ธนสฺส ขียนํ ธนกฺขโย ความสิ้นไปแห่งทรัพย์  ธน-ขี-ณ
มาตุคาโม
คม
มาตุยา (สมภาวํ) คจฺฉตีติ มาตุคาโม (ชโน) ผู้ถึง(ซึ่งความเป็นผู้เสมอ)ด้วยมารดา, มาตุคาม, ผู้หญิง มาตุ-คม--ณ
คาโห
คห
คณฺหาตีติ  คาโห ผู้ถือ, ผู้จับ  คห-ณ    กัตตุ. กัตตุ.


คหณํ  คาโห การถือ, การจับ
ปตฺตคฺคาโห
คห
ปตฺตํ คณฺหาตีติ ปตฺตคฺคาโห ผู้ถือซึ่งบาตร  ปตฺต-คห-ณ  กัตตุ. กัตตุ.
รชฺชุคฺคาโห
คห
รชฺชุํ คณฺหาตีติ รชฺชุคฺคาโห ผู้ถือซึ่งเชือก  รชฺชุ-คห-ณ  กัตตุ. กัตตุ.
รสฺมิคาโห
คห
รสฺมึ คณฺหาตีติ รสฺมิคาโห ผู้ถือซึ่งเชือก  รสฺมิ-คห-ณ  กัตตุ. กัตตุ.
องฺกุสคาโห
คห
องฺกุสํ คณฺหาตีติ องฺกุสคาโห ผู้ถือซึ่งขอ, ควาญช้าง  องฺกุส-คห-ณ  กัตตุ. กัตตุ.
คุป
โคเปตีติ  โคโป ผู้คุ้มครอง  คุป-ณ
ฆาสํ
ฆส
ฆสิตพฺพนฺติ  ฆาสํ (มํสํ) อันสัตว์พึงกิน, เหยื่อ  ฆส-ณ
ภิกฺขาจาโร
จร
ภิกฺขาย จรติ เอตฺถาติ ภิกฺขาจาโร (กาโล, ปเทโส) เป็นที่เที่ยวไปเพื่อภิกษา  ภิกฺขา-จร-ณ


ภิกฺขาย จรณํ ภิกฺขาจาโร การเที่ยวไปเพื่อภิกษา
สีฆชโว
ชุ
สีเฆน ชวตีติ สีฆชโว (อสฺโส) ผู้วิ่งเร็ว   สีฆ-ชุ-ณ
ปริฬาโห
ฑห
ปริฑยฺหนํ ปริฬาโห ความเร่าร้อน   ปริ-ฑห "เผา-ร้อน"-ณ   แปลง ฑ เป็น ฬ
ธมฺมตกฺโก
ตกฺก
ธมฺมํ  ตกฺเกตีติ  ธมฺมตกฺโก ผู้ตรึกซึ่งธรรม  ธมฺม-ตกฺก-ณ
อาตปฺโป
ตป
อา ภุโส กายํ จิตฺตญฺจ ตาเปตีติ อาตปฺโป (วายาโม) อันยังกายและจิตให้เร่าร้อนทั่ว, ความเพียร  อา-ตป-ณ


อา ภุโส กายํ จิตฺตญฺจ อาปนํ อาตปฺโป การยังกายและจิตให้เร่าร้อนทั่ว, ความพยายาม
อาตาโป
ตป
อา สมนฺตโต ตาเปติ เตนาติ อาตาโป (วายาโม) เป็นเครื่องยังกิเลสให้ร้อนทั่ว อา-ตป-ณ
ปโตโท
ตุท
ปตุชฺชเต อเนนาติ ปโตโท (ทพฺโพ) เป็นเครื่องอันเขาแทง  ป-ตุท-ณ   กัมม. กรณ.
ตาโส
ตุส
ตสนํ ตาโส ความสะดุ้ง   ตส-ณ
อุทฺทาโม
ทม
อุทฺทเมตีติ อุทฺทาโม (อสฺโส) ผู้คะนอง  อุ-ทม-ณ
โทโส
ทุส
ทุสฺสติ เตนาติ โทโส (กิเลโส) เป็นเหตุประทุษร้าย  ทุส-ณ  กัตตุ. กรณ.


ทุสฺสนํ โทโส การประทุษร้าย
ปโทโส
ทุส
ปทุสฺสนํ ปโทโส การประทุษร้าย  ป-ทุส-ณ
วินาโส
นส
วินสฺสนํ วินาโส ความพินาศ, ความฉิบหาย  วิ-นส-ณ
ปาโท
ปท
ปชฺชเต อเนนาติ ปาโท (อวยโว) เป็นเครื่องอันเขาเดินไป, เท้า  ปท-ณ   กัมม. กรณ.
อุปฺปาโท
ปท
อุปฺปชฺชนํ อุปฺปาโท ความเกิดขึ้น  อุ-ปท-ณ
โคโป
ปา
คาโว ปาตีติ  โคโป ผู้เลี้ยงซึ่งโค  โค-ปา-ณ
ทฺวารปาโล
ปาล
ทฺวารํ ปาเลตีติ  ทฺวารปาโล ผู้รักษาซึ่งประตู  ทฺวาร-ปาล-ณ
อุยฺยานปาโล
ปาล
อุยฺยานํ ปาเลตีติ  อุยฺยานปาโล ผู้รักษาซึ่งอุทยาน  อุยฺยาน-ปาล-ณ
ผสฺโส
ผุส
ผุสนฺติ เตนาติ ผสฺโส (สภาโว) เป็นเครื่องถูกต้อง  ผุส-ณ   กัตตุ. กรณ.
อาพาโธ
พาธ
อาพาธตีติ อาพาโธ (สภาโว) ผู้เบียดเบียนยิ่ง   อา-พาธ-ณ
ปลิโพโธ
พุธิ พธ
ปลิพุนฺธิยเตติ ปลิโพโธ ความกังวล  ปริ-พุธิ พธ-ณ  แปลง ร เป็น ล
สีลเภโท
ภิท
สีลสฺส ภิชฺชนํ สีลเภโท ความแตกแห่งศีล  สีล-ภิท-ณ
ภยํ
ภี
ภายิตพฺพนฺติ ภยํ (วตฺถุ) อันเขาพึงกลัว  ภี-ณ


ภายนํ ภยํ ความกลัว
เภรโว
ภีรุ
ภายิตพฺโพติ เภรโว (สทฺโท) อันเขาพึงกลัว  ภีรุ-ณ
ปาฏิโภโค
ภุช
ปภุญฺชตีติ ปาฏิโภโค (ภควา) ผู้รับรอง, นายประกัน  ปฏิ-ภุช-ณ
ภาโว
ภู
ภวนํ ภาโว ความเป็น  ภู-ณ
ปมาโท
มท
ปมชฺชติ เตนาติ ปมาโท (สภาโว) เป็นเหตุประมาท  ป-มท-ณ


ปมชฺชนํ ปมาโท ความประมาท
มาโร
มร
สตฺตานํ กุสลธมฺเม มาเรตีติ  มาโร (สภาโว) อันยังความดีของสัตว์ให้ตาย  มร-ณ
ปรามาโส
มส
ปรามสนํ ปรามาโส ความยึดมั่น  ป-อา-มส-ณ  ลง ร อาคม
โมโห
มุห
มุยฺหนฺติ เตนาติ โมโห (กิเลโส) เป็นเหตุหลง  มุห-ณ  กัตตุ. กรณ.


มุยฺหนํ โมโห ความหลง
ยาโค
ยช
ยชติ เตนาติ ยาโค (สกฺกาโร) เป็นเครื่องบูชา  ยช-ณ


ยชิตพฺโพติ ยาโค (ภควา) อันเขาพึงบูชา
โยโค
ยุช
ยุญฺชิตพฺโพติ โยโค (วายาโม) อันเขาพึงประกอบ  ยุช-ณ


ยุญฺชติ เอเตนาติ โยโค (กิเลโส) เป็นเครื่องประกอบ
ราโค
รนฺช
รญฺชนฺติ เอเตนาติ ราโค (กิเลโส) เป็นเหตุกำหนัด  รนฺช-ณ   กัตตุ. กรณ.


รญฺชนํ/รชฺชนํ ราโค ความกำหนัด, ราคะ
อาราโม
รม
อารมนฺติ เอตฺถาติ อาราโม (ปเทโส) เป็นที่ยินดี (แห่งชน)  อา-รม-ณ   กัตตุ. อธิกรณ.


อาคนฺตฺวา รมนฺติ เอตฺถาติ อาราโม (ปเทโส) เป็นที่มายินดี (แห่งชน)  กัตตุ. อธิกรณ.
รโว
รว
รวณํ รโว การร้อง, การตะโกน  รุ-ณ
โรโค
รุช
รุชฺชตีติ โรโค (อาพาโธ) ผู้เสียดแทง, โรค  รุช-ณ
สลฺลาโป
ลป
สลฺลปนํ สลฺลาโป การเจรจา  สํ-ลป-ณ
ลาโภ
ลภ
ลพฺภตีติ ลาโภ (ธมฺโม) อันเขาได้  ลภ-ณ  กัมม. กัมม.


ลภนํ ลาโภ  การได้
โลโภ
ลุภ
ลุพฺภนฺติ เอเตนาติ โลโภ (กิเลโส) เป็นเหตุโลภ  ลุภ-ณ   กัตตุ. กรณ.


ลุพฺภนํ โลโภ ความโลภ
วาจา
วจ
วจติ เอตายาติ วาจา (สทฺทชาติ) เป็นเครื่องกล่าว  วจ-ณ


วจนํ วาจา การกล่าว
วิวาโท
วท
วิรุทฺธํ กตฺวา วทนํ วิวาโท การกล่าวทำให้ขัดแย้งกัน "กล่าวต่าง" (วิรุทฺธํ กตฺวา ทำให้ขัดแย้งกัน) วิ-วท-ณ
อนูปวาโท
วท
อนูปวาทนํ  อนูปวาโท การไม่เข้าไปว่า(ร้าย)  น-อนุ-วท-ณ
ปริวาโร
วร
ปริวาเรตีติ  ปริวาโร ผู้แวดล้อม  ปริ-วร "กั้น ปิด" -ณ  (กั้นรอบ = แวดล้อม)


ปริวรณํ  ปริวาโร การแวดล้อม
นิวาโส
วส
นิวสติ เอตฺถาติ นิวาโส (ปเทโส) เป็นที่อยู่อาศัย  นิ-วส-ณ


นิวาสนํ นิวาโส การอยู่อาศัย
อาวาโส
วส
อาวสนฺติ เอตฺถาติ  อาวาโส (ปเทโส) เป็นที่อาศัยอยู่  อา-วส-ณ
สํวาโส
วส
สํ วสนํ สํวาโส การอยู่ร่วม, สังวาส  สํ-วส-ณ
วาโห
วห
วหิตพฺโพติ วาโห (ภาโร) อันเขาพึงนำไป  วห-ณ
อาวาโห
วห
อาวหนํ อาวาโห การนำมา  อา-วห-ณ
อาวาหํ
วห
อาวหนฺติ นนฺติ อาวาหํ (มงฺคลํ) เป็นที่นำมา, (การแต่งงานแบบหญิงไปขอชาย)  อา-วห-ณ กัตตุ. กัมม.
วิวาหํ
วห
วิวหนฺติ นนฺติ วิวาหํ (มงฺคลํ) เป็นที่นำไปต่าง, (การแต่งงานแบบชายไปขอหญิง)  วิ-วห-ณ กัตตุ. กัมม.
วิเวโก
วิจ
วิเวจนํ วิเวโก ความสงัด  วิจ-ณ  ทำ เทฺวภาวะ วิ ที่ วิจ
สํเวโค
วิชิ
สํเวชิตพฺพนฺติ สํเวโค ความสลด, ความสังเวช  สํ-วิชิ-ณ
ตนฺตวาโย
เว
ตนฺตํ วายตีติ ตนฺตวาโย (ชโน) ผู้กรอซึ่งด้าย  ตนฺต-เว-ณ  กัตตุ. กัตตุ. แปลง เอ เป็น อาย
ปสาโท
สท
ปสาทนํ ปสาโท ความเลื่อมใส  ป-สท-ณ
สาโป
สป
สปนํ สาโป การแช่ง, การสาป  สป-ณ
วิปฺปฏิสาโร
สร
วิรูเปน ปติ ปุนปฺปุนํ สรติ จิตฺตํ เอเตนาติ วิปฺปฏิสาโร เป็นเครื่องไปผิดรูป (แห่งจิต), เป็นเครื่องเดือดร้อน (แห่งจิต) วิ-ปฏิ-สร-ณ


วิปฺปฏิสรณํ วิปฺปฏิสาโร ความเดือดร้อน (แห่งจิต)
อุสฺสาโห
สห
ทุกฺขลาภํ สหตีติ อุสฺสาโห (สภาโว) อันอดกลั้นซึ่งสิ่งที่พึงได้ยากขึ้นไป, อุสสาหะ  อุ-สห-ณ


อุสฺสหนํ อุสฺสาโห การอดกลั้นยิ่งขึ้นไป, อุสสาหะ
วิสฺสาโส
สส
วิเสเสน สาสตีติ วิสฺสาโส ผู้คุ้นเคยกัน  วิ-สส-ณ


วิสฺสาสนํ วิสฺสาโส ความคุ้นเคยกัน
ปริสฺสยํ
สิ
ปริสยตีติ ปริสฺสยํ (ภยํ) อันเบียดเบียนรอบ  ปริ-สิ-ณ


ปริสยติ เตนาติ ปริสฺสยํ (ภยํ) เป็นเครื่องเบียดเบียนรอบ (แห่งชน)
นครโสภิณี
สุภ
นครํ โสเภตีติ นครโสภิณี (อิตฺถี) ผู้ยังนครให้งาม  นคร-สุภ-ณ
อนูปฆาโต
หน
อนูปหนนํ  อนูปฆาโต การไม่เข้าไปฆ่า  น-อนุ-หน-ณ  แปลง หน เป็น ฆาต
วิหาโร
หร
วิหรติ เตนาติ วิหาโร (ธมฺโม) เป็นเครื่องอยู่ (แห่งภิกษุ)  วิ-หร-ณ  กัตตุ. กรณ.


วิหรนฺติ เอตฺถาติ วิหาโร (อาราโม) เป็นที่อยู่ (แห่งภิกษุ)  กัตตุ. อธิกรณ.
อาหาโร
หร
อาหรตีติ อาหาโร (สภาโว) ผู้นำมา  อา-หร-ณ
หาโส
หส
หสนํ หาโส การหัวเราะ  หส-ณ
ปริหาโส
หส
ปริหสนฺติ เอตฺถาติ ปริหาโส (ปเทโส) เป็นที่เล่น, เป็นที่ร่าเริง  ปริ-หส-ณ


ปริหสนํ ปริหาโส การเยาะเย้ย, ความร่าเริง
วิฆาสาโท
ฆส
วิฆาสํ อทตีติ  วิฆาสาโท ผู้เคี้ยวกินซึ่งวัตถุอันเป็นเดน  วิฆาส-อท-ณ
อาโส
อส
อาสิตพฺโพติ  อาโส (อาหาโร) อันเขาพึงกิน  อส-ณ   กัมม. กัมม.
ปาตราโส
อส
ปาโต อาสิตพฺโพติ  ปาตราโส (อาหาโร) อันเขาพึงกินในเวลาเช้า ปาโต-อส-ณ   กัมม. กัมม.
สายมาโส
อส
สายํ อาสิตพฺโพติ  สายมาโส (อาหาโร) อันเขาพึงกินในเวลาเย็น สายํ-อส-ณ   กัมม. กัมม.
ลงหลังธาตุพยางค์เดียว เป็น อา  แปลง อา เป็น อาย
ทายํ
ทา
ทาตพฺพนฺติ  ทายํ (วตฺถุ) อันเขาพึงให้, รางวัล  ทา-ณ   กัมม. กัมม.
ทาโย
ทา
ทานํ  ทาโย  การให้
ทานทาโย
ทา
ทานํ ททาตีติ ทานทาโย (ชโน) ผู้ให้ซึ่งทาน  ทาน-ทา-ณ
ธญฺญมาโย
มา
ธญฺญํ มินาตีติ ธญฺญมาโย (ชโน) ผู้นับซึ่งข้าวเปลือก  ธญฺญ-มา-ณ

ปัจจัยที่เนื่องด้วย ณ (ยกเว้น ณฺวุ)  ในนามกิตก์
ลงหลังธาตุที่มี เป็นที่สุด  แปลง จ เป็น
โอโก
อุจ
(อุทกํ) อุจตีติ โอโก (ปเทโส) ผู้กักเก็บ (ซึ่งน้ำ), ห้วงน้ำ   อุจ-ณ
โสโก
สุจ
โสจนํ โสโก ความเศร้าโศก  สุจ "แห้ง"-ณ
ปาโก
ปจ
ปจนํ ปาโก การหุง  ปจ-ณ
วิปาโก
ปจ
วิปจตีติ วิปาโก (ภาโว) อันสุกวิเศษ, ผลแห่งกรรม  วิ-ปจ-ณ


วิปจนํ วิปาโก ความสุกวิเศษ
ปริปาโก
ปจ
ปริปจนํ ปริปาโก ความแก่รอบ  ปริ-ปจ-ณ
ลงหลังธาตุที่มี เป็นที่สุด  แปลง ช เป็น
จาโค
จช
จชตีติ  จาโค ผู้สละ  จช-ณ


จชนํ  จาโค  การสละ
อติปริจาโค
จช
อติปริจชนํ อติปริจาโค การสละอันยิ่งเกิน  อติ-ปริ-จช-ณ
สํวิภาโค
ภช
สํ วิภชนํ สํวิภาโค การจำแนก, การแบ่งแยก  สํ-ภช-ณ
โภโค
ภุช
ภุญฺชิยเตติ โภโค (อาหาโร) อันเขาบริโภค  ภุช-ณ   กัมม. กัมม.


ภุญฺชนํ โภโค  การบริโภค
อุปโยโค
ยุช
อุปยุชฺฌิตพฺพนฺติ อุปโยโค การประกอบเข้า  อุป-ยุช-ณ
อุปสคฺโค
สช
อุปคนฺตฺวา (อตฺถํ) สชฺเชตีติ อุปสคฺโค (สภาโว) อันเข้าไปขัดขวาง (ซึ่งประโยชน์) อุป-สช-ณ
สงฺโค
สช
สชฺชนํ สงฺโค ความข้อง   สญฺช-ณ
รงฺโค
รนฺช
รงฺโค ผู้กำหนัด, เป็นที่กำหนัด (สถานที่เต้นรำ)  รญฺช-ณ    กัตตุ. อธิกรณ.
คห ธาตุ  แปลง คห เป็น ฆร ได้
ฆรํ
คห
คยฺหตีติ ฆรํ (ฐานํ) อันเขาถือครอง  คห-ณ   กัมม. กัมม.
กร ธาตุ มี  ปุร สํ อุ ปริ เป็นบทหน้า  แปลง กร เป็น หรือ ขร ได้
สงฺขาโร
กร
สงฺกริยเตติ  สงฺขาโร (ธมฺโม) อันปัจจัยกระทำพร้อม  สํ-กร-ณ   กัมม. กัมม.
สงฺขาโร
กร
ปจฺจเยหิ สงฺคมฺม กริยเตติ สงฺขาโร (ธมฺโม) อันปัจจัยประชุมกันแต่งขึ้น   กัมม. กัมม.
อภิสงฺขาโร
กร
อภิสงฺขาโร ผู้ทำยิ่งดี  อภิ-สํ-กร-ณ
ปริกฺขาโร
กร
ปริกฺขาโร เป็นเครื่องทำรอบ  ปริ-กร-ณ     กัตตุ. กรณ.
ปุเรกฺขาโร
กร
ปุเร กรณํ  ปุเรกฺขาโร การทำก่อน, การทำในเบื้องหน้า, (ความยกย่อง)  ปุเร-กร-ณ
ติ ปัจจัย
เป็นได้ทุกรูปทุกสาธนะ 
เป็นอิตถีลิงค์  แจกอย่าง รตฺติ
1.
ธาตุพยางค์เดียว  คงไว้ตามเดิมบ้าง  แปลงเป็นอย่างอื่นบ้าง

ฐิติ
ฐา
ฐานํ ฐิติ  ความตั้งอยู่  ฐา-ติ  แปลง อา เป็น อิ  ภาว. ภาว.

วิญฺญตฺติ
ญา
วิญฺญาปนํ วิญฺญตฺติ การให้รู้ต่าง, การขอ  วิ-ญา-ติ  รัสสะ อา เป็น อ   ซ้อน ตฺ  ภาว. ภาว.  

ปติ
ปา
ปาตีติ ปติ ผู้รักษา, เจ้า, ผัว, นาย  ปา-ติ  รัสสะ อา เป็น อ   กัตตุ. กัต.

ปีติ
ปา
ปิวนํ ปีติ ความดื่ม   ปา-ติ  แปลง อา เป็น อี  (เป็นมติในมูลกัจจายน์)  ภาว. ภาว.



ปีติ (ธมฺมชาติ) ผู้ยังใจให้เอิบอิ่ม  ปิ "ให้เอิบอิ่ม" (อภิธานัปปทีปิกา สูจิ) -ติ  กัตตุ. กัต.

อีติ
อิ
อนตฺถาย เอตีติ อีติ (ธมฺมชาติ) อันมาเพื่อความฉิบหายมิใช่ประโยชน์, จัญไร  อา-อิ-ติ  กัตตุ. กัตตุ.

จุติ
จุ
จวนํ จุติ ความเคลื่อน  จุ-ติ  ภาว. ภาว.

ถุติ
ถุ
ถวนํ ถุติ ความชมเชย  ถุ-ติ  ภาว. ภาว.

สุติ
สุ
สวนํ สุติ การฟัง  สุ-ติ  ภาว. ภาว.

สมฺภูติ
ภู
สมฺภวนํ  สมฺภูติ การเกิดขึ้นด้วยดี  สํ-ภู-ติ  ภาว. ภาว.

วิภูติ
ภู
วิสิฏฺเฐน/วิเสสโต ภวตีติ  วิภูติ (ธมฺมชาติ) ผู้เป็นโดยวิเศษ   วิ-ภู-ติ  กัตตุ. กัต.



วิภวนํ วิภูติ ความเป็นโดยวิเศษ  วิ-ภู-ติ  ภาว. ภาว.

ภวเนตฺติ
ภู
ภวํ เนตีติ ภวเนตฺติ (ธมฺมชาติ) อันนำไปสู่ภพ  ภว-นี-ติ   ซ้อน ตฺ  กัตตุ. กัต.



ภวํ เนติ เอตายาติ ภวเนตฺติ (ตณฺหา) เป็นเครื่องนำไปสู่ภพ  ภว-นี-ติ   ซ้อน ตฺ  กัตตุ. กรณ.

ชานิ
หา
หานํ ชานิ ความเสื่อม  หา-ติ  แปลง หา เป็น ชา   แปลง ติ เป็น นิ  ภาว. ภาว.     

ปริหานิ
หา
ปริหานํ/ปริหายนํ ปริหานิ ความเสื่อมรอบ  ปริ-หา-ติ   แปลง ติ เป็น นิ  ภาว. ภาว.
2.
ธาตุมี น ม ร เป็นที่สุด  ลบที่สุดธาตุ

วิกติ
กร
วิวิเธน อากาเรน กรณํ วิกติ การกระทำโดยอาการมีอย่างต่างๆ   วิ-กร-ติ  ภาว. ภาว.

คติ
คม
คมยเตติ/คนฺตพฺพนฺติ/คมนํ คติ การไป  คม-ติ  ภาว. ภาว.



คจฺฉนฺติ เอตฺถาติ คติ (ภูมิ) เป็นที่ไป  คม-ติ  กัตตุ. อธิกรณ.

ทุคฺคติ
คม
ทุฏฺฐุ คมนํ ทุคฺคติ การไปชั่ว  ทุ-คม-ติ  ภาว. ภาว.



ทุ คจฺฉนฺติ เอตฺถาติ ทุคฺคติ (ภูมิ) เป็นที่ไปชั่ว   ทุ-คม-ติ  กัตตุ. อธิกรณ.

สุคติ
คม
สุฏฺฐุ คมนํ สุคติ การไปดี  สุ-คม-ติ  ภาว. ภาว.



สุ คจฺฉนฺติ เอตฺถาติ สุคติ (ภูมิ) เป็นที่ไปดี   สุ-คม-ติ  กัตตุ. อธิกรณ.

สนฺตติ
ตน
สนฺตนนํ สนฺตติ ความสืบต่อ  สํ-ตน-ติ  ภาว. ภาว.

ภติ
ภร
ภรณํ ภติ การเลี้ยงดู  ภร-ติ  ภาว. ภาว.



ภรติ เอตายาติ ภติ (ธนชาติ) เป็นเครื่องเลี้ยงดู, ค่าจ้าง  ภร-ติ  กัตตุ. กรณ.

มติ
มน
มนนํ มติ ความรู้    มน-ติ  ภาว. ภาว.



มญฺญตีติ มติ (ธมฺมชาติ) ผู้รู้    มน-ติ  กัตตุ. กัต.



มญฺญติ เอตายาติ มติ (ธมฺมชาติ) เป็นเครื่องรู้   มน-ติ  กัตตุ. กรณ.

สารมติ
มน
สาเร มญฺญติ สีเลนาติ สารมติ ผู้รู้ในสิ่งอันเป็นสาระโดยปกติ  สาร-มน-ติ  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

สมฺมติ
มน
สมฺมนนํ สมฺมติ  ความรู้พร้อม   สํ-มน-ติ  ภาว. ภาว.



สํ สุฏฺฐุ มญฺญตีติ สมฺมติ (ธมฺมชาติ)  ผู้รู้พร้อม  สํ-มน-ติ  กัตตุ. กัต.



สํ สุฏฺฐุ มญฺญติ เอตายติ สมฺมติ (ธมฺมชาติ) เป็นเครื่องรู้พร้อม   สํ-มน-ติ  กัตตุ. กรณ.

รติ
รม
รมณํ รติ ความยินดี  ม-ติ  ภาว. ภาว.



รมนฺติ เอตายาติ รติ (ธมฺมชาติ) เป็นเครื่องยินดี  ม-ติ  กัตตุ. กรณ.

สติ
สร
สรณํ สติ ความระลึก  สร-ติ  ภาว. ภาว.



สรตีติ สติ (ธมฺมชาติ) ผู้ระลึก  สร-ติ  กัตตุ. กัต.



สรติ เอตายาติ สติ (ธมฺมชาติ) เป็นเครื่องระลึก  สร-ติ  กัตตุ. กรณ.
3.
หลัง ภุช ยุช ปท เป็นต้น ลบที่สุดธาตุ  ซ้อน ตฺ

คุตฺติ
คุป
คุปนํ คุตฺติ ความคุ้มครอง   คุป-ติ  ภาว. ภาว.

อินฺทฺริยคุตฺติ
คุป
อินฺทฺริยสฺส คุปนํ อินฺทฺริยคุตฺติ ความคุ้มครองซึ่งอินทรีย์  อินฺทฺริย-คุป-ติ  ภาว. ภาว.

ติตฺติ
ติป
ติปนํ ติตฺติ ความอิ่ม   ติป-ติ  ภาว. ภาว.

อุปฺปตฺติ
ปท
อุปฺปชฺชนํ อุปฺปตฺติ ความเกิดขึ้น, ความอุบัติ   อุ-ปท "ถึง"-ติ  ภาว. ภาว.

อาปตฺติ
ปท
อาปชฺชนํ อาปตฺติ ความถึง, ความต้อง, อาบัติ  อา-ปท-ติ  ภาว. ภาว.

สมาปตฺติ
ปท
สมาปชฺชนํ สมาปตฺติ การเข้าพร้อม, ฌาน  สํ-อา-ปท-ติ  ภาว. ภาว.

สมฺปตฺติ
ปท
สมฺปชฺชิตพฺพาติ สมฺปตฺติ (ธมฺมชาติ) อันเขาพึงถึงพร้อม  สํ-ปท-ติ  กัมม. กัมม.

ภตฺติ
ภช
ภชนํ ภตฺติ การจำแนก, การคบ  ภช-ติ  ภาว. ภาว.

วิภตฺติ
ภช
วิภชนํ วิภตฺติ การจำแนก  วิ-ภช-ติ  ภาว. ภาว.

ภุตฺติ
ภุช
ภุญฺชนํ ภุตฺติ การกิน  ภุช-ติ  ภาว. ภาว.

วิมุตฺติ
มุจ
วิมุจฺจนํ วิมุตฺติ ความพ้นวิเศษ  วิ-มุจ-ติ  ภาว. ภาว.

ยุตฺติ
ยุช
ยุญฺชนํ ยุตฺติ การประกอบ  ยุช-ติ  ภาว. ภาว.

ปวตฺติ
วตุ
ปวตฺตนํ ปวตฺติ ความเป็นไปทั่ว  ป-วตุ-ติ  ภาว. ภาว.

วุตฺติ
วตุ
วตฺตนํ วุตฺติ ความประพฤติ, ความเป็นไป  วตุ-ติ  ภาว. ภาว.

ชีวิตวุตฺติ
วตุ
ชีวิตสฺส วตฺตนํ ชีวิตวุตฺติ ความเป็นไปแห่งชีวิต  ชีวิต-วตุ-ติ  ภาว. ภาว.
4.
ธาตุมี ธ, ภ เป็นที่สุด ลบที่สุดธาตุ  แปลง ติ เป็น ทฺธิ   เช่น

พุทฺธิ
พุธ
พุชฺฌติ เอตายาติ พุทฺธิ (ปญฺญา) เป็นเครื่องตรัสรู้   พุธ-ติ  กัตตุ. กรณ.



พุชฺฌนํ พุทฺธิ การตรัสรู้  พุธ-ติ  ภาว. ภาว.

ลทฺธิ
ลภ
ลภติ เอตายาติ ลทฺธิ (ธมฺมชาติ) เป็นเหตุได้   ลภ-ติ  กัตตุ. กรณ. 

วิสุทฺธิ
สุธ
วิสุชฺฌนํ วิสุทฺธิ ความหมดจดวิเศษ   วิ-สุธ-ติ  ภาว. ภาว.

สมิทฺธิ
อิธ
สมิชฺฌนํ สมิทฺธิ ความสำเร็จพร้อม   สํ-อิธ-ติ  ภาว. ภาว.
5.
ธาตุมี ม เป็นที่สุด ลบที่สุดธาตุ  แปลง ติ เป็น นฺติ

นิกนฺติ
กมุ
นิกมนํ นิกนฺติ ความใคร่, ความปรารถนา  นิ-กมุ-ติ  ภาว. ภาว.

สนฺติ
สม
สมนํ สนฺติ ความสงบ  สม-ติ  ภาว. ภาว.

ขนฺติ
ขม
ขมนํ ขนฺติ ความอดทน  ขม-ติ  ภาว. ภาว.
6.
ธาตุมี ส เป็นที่สุด ลบที่สุดธาตุ   แปลง ติ เป็น ฏฺฐิ

สนฺตุฏฺฐิ
ตุส
สนฺตุสฺสนํ สนฺตุฏฺฐิ ความยินดีพร้อม, สันโดษ  สํ-ตุส-ติ  ภาว. ภาว.

ทิฏฺฐิ
ทิส
ทสฺสนํ ทิฏฺฐิ  ความเห็น   ทิส-ติ  ภาว. ภาว.

วุฏฺฐิ
วสฺส
วสฺสนํ วุฏฺฐิ  การหลั่ง, การตก, การโปรย (แห่งฝน)   วสฺส-ติ  ภาว. ภาว.

อนุสิฏฺฐิ
สาส
อนุสาสนํ อนุสิฏฺฐิ การตามสอน   อนุ-สาส-ติ  แปลง อา เป็น อิ  ภาว. ภาว.
5.
แปลงตัวธาตุ

ชาติ
ชน
ชนนํ ชาติ ความเกิด  ชน-ติ  แปลง ชน เป็น ชา  ภาว. ภาว.

วุฑฺฒิ
วฑฺฒ
วฑฺฒนํ วุฑฺฒิ ความเจริญ  วฑฺฒ-ติ  ภาว. ภาว.
เป็นได้ทุกรูปทุกสาธนะ 
ลงแล้วแปลงเป็น อน  เช่น  สยนํ ภวนํ 
 ธาตุที่มี เป็นที่สุด แปลง ยุ เป็น อณ เสมอ   เช่น กรณํ  
 ธาตุที่มี เป็นที่สุด แปลง ยุ เป็น อณ บ้าง   เช่น คหณํ
 ธาตุบางตัวแปลง ยุ เป็น อณ ได้   เช่น ญาณํ  สมโณ
 ญา ธาตุ แปลง ญา เป็น ชา   ต้องแปลง ยุ เป็น อานน เสมอ   เช่น วิชานนํ
อิตถีลิงค์  ลง อา แจกอย่าง กญฺญา
นปุงสกลิงค์ แจกอย่าง กุล
(ป. เอก.  ทาโนทานาทานํ)
1.
ธาตุพยางค์เดียว  เป็น อา

อพฺภกฺขานํ
ขา
อสจฺเจน อกฺขานํ  อพฺภกฺขานํ การกล่าวตู่, การกล่าวด้วยเรื่องไม่จริง  อภิ-อา-ขา-ยุ  ภาว. ภาว.

ฌานํ
ฌา
ฌายเตติ  ฌานํ การเพ่ง  ฌา-ยุ  ภาว. ภาว.


ฌา
(ปจฺจนีกธมฺเม) ฌาเปตีติ  ฌานํ (คุณชาตํ) อันยังธรรมเป็นข้าศึกให้ไหม้   ฌา-ยุ  กัตตุ. กัต.


ฌา
ฌายติ อเนนาติ  ฌานํ (คุณชาตํ) เป็นเครื่องเผา (ซึ่งกิเลส แห่งโยคี)  ฌา-ยุ  กัตตุ. กรณ.

ญา
ชานนํ ญาณํ ความรู้   ญา-ยุ  ภาว. ภาว.


ญา
ชานาติ เตนาติ  ญาณํ เป็นเครื่องรู้   ญา-ยุ  กัตตุ. กรณ.

ทุชฺชาโน
ญา
ทุชฺชานิตพฺโพติ ทุชฺชาโน (ชีวิตนฺตราโย) อันเขาพึงรู้ได้ยาก  ทุ-ญา-ยุ  กัม. กัม.

วิญฺญาณํ
ญา
วิชานนํ วิญฺญาณํ  ความรู้ชัด, ความรู้แจ้ง (ซึ่งอารมณ์)  วิ-ญา-ยุ  ภาว. ภาว.

วิญฺญาปนํ
ญา
วิชานาเปตีติ วิญฺญาปนํ (วจนํ) อันยังบุคคลให้รู้แจ้ง  วิ-ญา-ณาเป-ยุ  กัตตุ. กัต.

สญฺญาณํ
ญา
สญฺชานาเปตีติ สญฺญาณํ การให้รู้  สํ-ญา-เณ-ยุ  ภาว. ภาว.

ฐานํ
ฐา
ติฏฺฐยเตติ ฐานํ การยืน  ฐา-ยุ  ภาว. ภาว.


ฐา
ติฏฺฐติ เอตฺถาติ ฐานํ (ฐานํ) เป็นที่ยืน  ฐา-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

วุฏฺฐานํ
ฐา
วุฏฺฐหนํ วุฏฺฐานํ การออก อุ-วฺ-ฐา-ยุ  ภาว. ภาว.

อุฏฺฐานํ
ฐา
อุฏฺฐาติ เตนาติ อุฏฺฐานํ (วีริยํ) เป็นเครื่องลุกขึ้น, เป็นเครื่องบากบั่น  อุ-ฐา-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

อุปฏฺฐานํ
ฐา
อุปฏฺฐาติ เอตฺถาติ อุปฏฺฐานํ (ฐานํ) เป็นที่เข้าไปยืน/ยืนใกล้ (คอยรับใช้), เป็นที่บำรุง อุป-ฐา-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.


ฐา
อุปคนฺตฺวา ติฏฺฐติ เอตฺถาติ อุปฏฺฐานํ (ฐานํ) เป็นที่เข้าไปยืน (คอยรับใช้), เป็นที่บำรุง   อุป-ฐา-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.


ฐา
อุปฏฺฐหนํ อุปฏฺฐานํ การเข้าไปยืน/ยืนใกล้, การบำรุง  อุป-ฐา-ยุ  ภาว. ภาว.

ทานํ
ทา
ทานํ ทานํ การให้  ทา-ยุ  ภาว. ภาว.


ทา
ทาตพฺพนฺติ ทานํ (วตฺถุ) อันเขาพึงให้  ทา-ยุ  กัม. กัม.


ทา
เทติ เอตายาติ ทานา (เจตนา)* เป็นเหตุให้  ทา-ยุ  กัตตุ. กรณ.


ทา
เทติ เอตฺถาติ ทานา (สาลา) เป็นที่ให้  ทา-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

โวทาปนํ
ทา
วิทาปนํ โวทาปนํ การ (ยังจิต) ให้ผ่องแผ้ว  วิ-ทา-ณาเป-ยุ  ภาว. ภาว.

ปานํ
ปา
ปิวนํ ปานํ การดื่ม  ปา-ยุ  ภาว. ภาว.


ปา
ปาตพฺพนฺติ ปานํ (อุทกํ) อันเขาพึงดื่ม  ปา-ยุ กัม. กัม.

สโมธานํ
ธา
สโมธาตพฺพนฺติ สโมธานํ การประชุมลง, การตั้งลงพร้อม  สํ-โอ-ธา-ยุ  ภาว. ภาว. 

ธาตุนิธานํ
ธา
ธาตุโน นิธารณํ ธาตุนิธานํ การบรรจุซึ่งพระธาตุ  ธาตุ-นิ-ธา-ยุ  ภาว. ภาว. 



ธาตุํ นิเธติ เอตฺถาติ ธาตุนิธานํ (ฐานํ) เป็นที่บรรจุซึ่งพระธาตุ  ธาตุ-นิ-ธา-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

ยานํ
ยา
ยาติ อเนนาติ ยานํ (วาหนํ) เป็นเครื่องไป  ยา-ยุ  กัตตุ. กรณ.

ปริโยสาโน
สา
ปริโยสาติ เอตฺถาติ ปริโยสาโน (กาโล) เป็นที่จบลงรอบ (แห่งเทศนา)  เทสนา-ปริ-โอ-สา-ยุ ลง ย อาคม  กัตตุ. อธิกรณ.

นิทฺทายนํ
ทา
นิทฺทายิตพฺพนฺติ  นิทฺทายนํ การหลับ  นิ-ทา-ย-ยุ   ภาว. ภาว.
2.
ธาตุพยางค์เดียว เป็น อิ อี  พฤทธิ์เป็น เอ   แปลง เอ เป็น อย

ปรายโน
อิ
ปรํ ยาติ เอตฺถาติ ปรายโน (ภโว) เป็นที่ไปในเบื้องหน้า  ปรํ-อิ-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

สยนํ
สี
สยิตพฺพนฺติ สยนํ การนอน  สี-ยุ   ภาว. ภาว.



สยติ เอตฺถาติ สยนํ (ฐานํ) เป็นที่นอน  สี-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

นิสีทนํ
สีท
นิสีทิตพฺพนฺติ นิสีทนํ การนั่ง  นิ-สี-ยุ   ภาว. ภาว.



นิสีทติ เอตฺถาติ นิสีทนํ (ฐานํ) เป็นที่นั่ง นิ-สี-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

อุจฺจยนํ
จิ
อุจฺจยนํ อุจฺจยนํ การสั่งสม  อุ-จิ-ยุ  ภาว. ภาว.

วิชยนํ
ชิ
วิชยนํ วิชยนํ การชนะโดยวิเศษ  วิ-ชิ-ยุ  ภาว. ภาว.

นยนํ
นี
นยนํ นยนํ การแนะนำ  นี-ยุ  ภาว. ภาว.
3.
ธาตุพยางค์เดียว เป็น อุ อู  พฤทธิ์เป็น โอ   แปลง โอ เป็น อว

ภวนํ
ภู
ภวนํ ภวนํ ความเป็น  ภู-ยุ  ภาว. ภาว.

ลวนํ
ลุ
ลวนํ ลวนํ การตัด  ลุ-ยุ  ภาว. ภาว.

สวนํ
สุ
สวนํ สวนํ การฟัง  สุ-ยุ  ภาว. ภาว.

ธมฺมสฺสวนํ
สุ
ธมฺมสฺส สวนํ ธมฺมสฺสวนํ การฟังซึ่งธรรม  ธมฺม-สุ-ยุ  ภาว. ภาว.

ธมฺมสฺสวโน
สุ
สุณนฺติ เอตฺถาติ ธมฺมสฺสวโน (กาโล) เป็นที่ฟังซึ่งธรรม  ธมฺม-สุ-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

หวนํ
หุ
หวนํ หวนํ การบูชา  หุ-ยุ  ภาว. ภาว.

อาหุนํ
หุ
อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ อาหุนํ (วตฺถุ) อันเขาพึงนำมาบูชา  อา-หุ-ยุ  กัม. กัม.
4.
ธาตุหลายพยางค์  ต้นธาตุเป็น อ   ไม่พฤทธิ์

นิกฺขมนํ
กม
นิกฺขมนํ นิกฺขมนํ การออกไป  นิ-กม-ยุ  ภาว. ภาว.


กม
นิกฺขมติ เอตฺถาติ นิกฺขมโน (กาโล) เป็นที่ออกไป  นิ-กม-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

อาคมนํ
คม
อาคนฺตพฺพนฺติ อาคมนํ การมา อา-คม-ยุ  ภาว. ภาว.

อาคมโน
คม
อาคจฺฉติ เอตฺถาติ อาคมโน (กาโล) เป็นที่มา  อา-คม-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

อุคฺคมนํ
คม
อุคฺคมนํ อุคฺคมนํ การขึ้นไป  อุ-คม-ยุ  ภาว. ภาว.

ปจฺจุคฺคมนํ
คม
ปจฺจุคฺคมนํ ปจฺจุคฺคมนํ การต้อนรับ ‘ขึ้นไปเฉพาะ’ ปฏิ-อุ-คม-ยุ  ภาว. ภาว.


คม
ปจฺจุคฺคจฺฉติ เอตฺถาติ ปจฺจุคฺคมโน (มคฺโค) เป็นที่ต้อนรับ ปฏิ-อุ-คม-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

สุริยตฺถงฺคคมโน
คม
สุริโย อตฺถํ คจฺฉติ เอตฺถาติ สุริยตฺถงฺคมโน (กาโล) เป็นที่ถึงซึ่งการตั้งอยู่ไม่ได้แห่งพระอาทิตย์ สุริย-อตฺถํ-คม-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

สุริยุคฺคมโน
คม
สุริโย อุคฺคจฺฉติ เอตฺถาติ สุริยุคฺคมโน (กาโล) เป็นที่ขึ้นไปแห่งพระอาทิตย์ สุริย-อุ-คม-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

อรุณุคฺคมนา
คม
อรุโณ อุคฺคจฺฉติ เอตฺถาติ อรุณุคฺคมนา (เวลา) เป็นที่ขึ้นไปแห่งอรุณ อรุณ-อุ-คม-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

ปกฺกมนํ
กม
ปกฺกมนํ ปกฺกมนํ การหลีกไป ป-กม-ยุ  ภาว. ภาว.

จชนํ
จช
จชนํ จชนํ การสละ จช-ยุ  ภาว. ภาว.

อาฬาหนํ
ทห
อาเนตฺวา ทหนฺติ เอตฺถาติ อาฬาหนํ (ฐานํ) เป็นที่นำมาเผา อา-ทห-ยุ แปลง ท เป็น ฬ   กัตตุ. อธิกรณ.

นหานํ
นหา
นหายติ เอเตนาติ นหานํ (อุทกํ) เป็นเครื่องอาบ นหา-ยุ  กัตตุ. กรณ.

อุปฺปตนํ
ปต
อุปฺปตติ เอตฺถาติ อุปฺปตนํ (ฐานํ) เป็นที่เหาะขึ้น อุ-ปต-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

อุปฺปชฺชนํ
ปท
อุปฺปชฺชิตพฺพนฺติ อุปฺปชฺชนํ การเกิดขึ้น อุ-ปท-ยุ  ภาว. ภาว.

อุปปชฺชนํ
ปท
อุปปชฺชิตพฺพนฺติ อุปปชฺชนํ การเข้าถึง อุป-ปท-ยุ  ภาว. ภาว.

ภชนํ
ภช
ภชนํ ภชนํ การแบ่ง  ภช-ยุ  ภาว. ภาว.

ยชนํ
ยช
ยชนํ ยชนํ การบูชา  ยช-ยุ  ภาว. ภาว.

รชนํ
รช
รชนํ รชนํ การย้อม  รช-ยุ  ภาว. ภาว.

วจนํ
วจ
วจิตพฺพนฺติ วจนํ (สทฺทชาตํ) อันเขาพึงกล่าว วจ-ยุ  กัม. กัม.


วจ
วจติ เตนาติ วจนํ (สทฺทชาตํ) เป็นเครื่องกล่าว วจ-ยุ  กัตตุ. กรณ.

อาฆาตนํ
หน
อาคนฺตฺวา หนนฺติ เอตฺถาติ อาฆาตนํ (ฐานํ) เป็นที่นำมาฆ่า หน-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.
5.
ธาตุหลายพยางค์  ต้นธาตุเป็น อิ   พฤทธิ์ อิ เป็น เอ

เอสนา
เอส
เอสนา เอสนา การแสวงหา  เอส-ยุ  ภาว. ภาว.

เทสนา
ทิส
เทสนา เทสนา การแสดง  ทิส-ยุ  ภาว. ภาว.

เวทนา
วิท
เวทนา เวทนา ความรู้ (ซึ่งอารมณ์), ความเสวยอารมณ์  วิท-ยุ  ภาว. ภาว.

เจตนา
จิต
เจตนา เจตนา ความคิด, ความจงใจ จิต-ยุ  ภาว. ภาว.


จิต
เจตยตีติ เจตนา (ธมฺมชาติ) ผู้คิด, เจตนา จิต-ยุ กัตตุ. กัต.

ทสฺสนํ
ทิส
ทสฺสนํ ทสฺสนํ การเห็น, การแสดง ทิส-ยุ  ภาว. ภาว.

ธมฺมเทสนา
ทิส
ธมฺมํ เทเสตีติ เอตายาติ ธมฺมเทสนา (วาจา) เป็นเครื่องแสดงซึ่งธรรม ธมฺม-ทิส-ยุ  กัตตุ. กรณ.


ทิส
ธมฺมสฺส เทสนา ธมฺมเทสนา การแสดงซึ่งธรรม ธมฺม-ทิส-ยุ  ภาว. ภาว.
6.
ธาตุหลายพยางค์  ต้นธาตุเป็น อุ   พฤทธิ์ อุ เป็น โอ

โกธโน
กุธ
กุชฺฌติ สีเลนาติ โกธโน ผู้โกรธโดยปกติ กุธ-ยุ  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

อกฺโกธโน
กุธ
น กุชฺฌติ สีเลนาติ อกฺโกธโน (ขีณาสโว) ผู้ไม่โกรธโดยปกติ  น-กุธ-ยุ  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

โชตโน
ชุต
โชเตติ สีเลนาติ โชตโน (ชโน) ผู้รุ่งเรืองโดยปกติ ชุต-ยุ  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

โภชนํ
ภุช
โภชนํ โภชนํ การกิน  ภุช-ยุ  ภาว. ภาว.


ภุช
ภุญฺชิตพฺพนฺติ โภชนํ (วตฺถุ) อันเขาพึงกิน  ภุช-ยุ   กัม. กัม.

โรจโน
รุจ
โรเจติ สีเลนาติ โรจโน (ชโน) ผู้รุ่งเรืองโดยปกติ รุจ-ยุ  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

วิโรจโน
รุจ
วิโรเจติ สีเลนาติ วิโรจโน (ชโน) ผู้รุ่งเรืองวิเศษโดยปกติ วิ-รุจ-ยุ  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

เทโวโรหโน
รุห
เทวโลกโต โอโรหติ เอตฺถาติ เทโวโรหโน (ทิวโส) เป็นที่ข้ามลงจากเทวโลก เทว-โอ-รุห-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

โสจนํ
สุจ
โสจนํ โสจนํ ความเศร้าโศก สุจ-ยุ  ภาว. ภาว.

นครโสภนา
สุภ
นครํ โสเภติ นครโสภนา (อิตฺถี) ผู้ยังพระนครให้งาม นคร-สุภ-ยุ  กัตตุ. กัต.

ปารุปนํ
รุป
ปารุปนํ ปารุปนํ การห่ม ปา-รุป-ยุ  ภาว. ภาว.


รุป
ปารุปนฺติ เอตฺถาติ ปารุปนํ (ฐานํ) เป็นที่ห่ม ปา-รุป-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.
7.
ธาตุหลายพยางค์  ต้นธาตุเป็นรัสสะ มีสังโยค  หรือเป็นทีฆะ  ไม่พฤทธิ์

อาสนํ
อาส
อาสีตพฺพนฺติ อาสนํ การนั่ง  อาส-ยุ  ภาว. ภาว.


อาส
อาสติ เอตฺถาติ อาสนํ (ฐานํ) เป็นที่นั่ง อาส-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

อเนสนํ
เอส
อปฺปฏิรูปํ เอสนํ อเนสนํ การแสวงหาอันไม่สมควร น-เอส-ยุ  ภาว. ภาว.

อเนสนา
เอส
อปฺปฏิรูปํ เอสติ เอตายติ อเนสนา (กิริยา) เป็นเครื่องแสวงหาอันไม่สมควร  เอส-ยุ  กัตตุ. กรณ.

กิญฺจนํ
กิจิ
กิญฺเจตีติ กิญฺจนํ (กิเลสชาตํ) ผู้ย่ำยี (ซึ่งสัตว์) กิจิ-ยุ  กัตตุ. กัตตุ.


กิจิ
กิญฺเจติ เตนาติ กิญฺจนํ (กิเลสชาตํ) เป็นเครื่องกังวล  กิจิ-ยุ  กัตตุ. กรณ.

ภาสโน
ภาส
ภาสติ สีเลนาติ ภาสโน (ชโน) ผู้กล่าวโดยปกติ  ภาส-ยุ  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

วิภูสนํ
ภูส
วิภูสนํ วิภูสนํ การตกแต่ง  วิ-ภูส-ยุ  ภาว. ภาว.

สํวณฺณนา
วณฺณ
สํวณฺเณติ เอตายาติ สํวณฺณนา (วาจา) เป็นเครื่องพรรณนาพร้อม (แห่งชน) สํ-วณฺณ-ยุ  กัตตุ. กรณ.

สํวณฺณนา
วณฺณ
สํวณฺณิยติ เอตายาติ สํวณฺณนา (วาจา) เป็นเครื่องอันเขาพรรณนาพร้อม (แห่งเนื้อความ) สํ-วณฺณ-ยุ  กัมม. กรณ.

สาสนํ
สาส
สาสติ เตนาติ สาสนํ (วจนํ) เป็นเครื่องกล่าวสอน สาส-ยุ  กัตตุ. กรณ.


สาส
สาสนํ สาสนํ การกล่าวสอน  สาส-ยุ  ภาว. ภาว.

ปตฺถนา
ปตฺถ
ปตฺถนา ปตฺถนา ความปรารถนา ปตฺถ-ยุ  ภาว. ภาว.

จินฺตนํ
จินฺต
จินฺตนํ จินฺตนํ  ความคิด  จินฺต-ยุ  ภาว. ภาว.

นนฺทนํ
นนฺท
นนฺทนํ นนฺทนํ ความบันเทิง  นนฺท-ยุ  ภาว. ภาว.

ปุจฺฉนํ
ปุจฺฉ
ปุจฺฉนํ ปุจฺฉนํ การถาม ปุจฺฉ-ยุ  ภาว. ภาว.

พุชฺฌนํ
พุธ
พุชฺฌนํ พุชฺฌนํ การตรัสรู้  พุธ-ยุ  ภาว. ภาว.

สิกฺขนํ
สิกฺข
สิกฺขนํ สิกฺขนํ การศึกษา  สิกฺข-ยุ  ภาว. ภาว.

ภุญฺชนํ
ภุช
ภุญฺชนํ ภุญฺชนํ การบริโภค  ภุช-ยุ  ภาว. ภาว.

สุปนํ
สุป
สุปนํ สุปนํ ความหลับ  สุป-ยุ  ภาว. ภาว.

มณฺฑนํ
มณฺฑ
มณฺฑนํ มณฺฑนํ การประดับ  มณฺฑ-ยุ  ภาว. ภาว.

ยุญฺชนํ
ยุช
ยุญฺชนํ ยุญฺชนํ การประกอบ  ยุช-ยุ  ภาว. ภาว.
8.
ธาตุมี เป็นที่สุด   แปลง ยุ เป็น อณ เช่น

กรณํ
กร
กรณํ กรณํ การทำ  กร-ยุ  ภาว. ภาว.


กร
กโรติ เตนาติ กรณํ (วตฺถุ) เป็นเครื่องทำ  กร-ยุ  กัตตุ. กรณ.

นามกรโณ
กร
นามํ กโรติ เอตฺถาติ นามกรโณ (ทิวโส) เป็นที่ทำซึ่งชื่อ, (วันตั้งชื่อ)    นาม-กร-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

วฺยากรณํ
กร
วฺยากโรติ สีเลนาติ วฺยากรณํ (วจนํ) อันทำให้แจ้งโดยปกติ วิ-อา-กร-ยุ  กัตตุ. กัต.


กร
ปาลึ วฺยากโรตีติ ปาลิเวยฺยากรณํ (ปกรณํ) อันทำให้แจ้งซึ่งบาลี  ปาลิ-วิ-อา-กร-ยุ  กัตตุ. กัต.


กร
ปาลึ วฺยากโรติ เตนาติ ปาลิเวยฺยากรณํ (ปกรณํ) อันเป็นเครื่องทำให้แจ้งซึ่งบาลี  ปาลิ-วิ-อา-กร-ยุ  กัตตุ. กรณ.

จรณํ
จร
จรณํ จรณํ การเที่ยวไป, ความประพฤติ จร-ยุ  ภาว. ภาว.

ปคฺฆรณํ
ฆร
ปคฺฆรณํ ปคฺฆรณํ การไหลออก  ป-ฆร-ยุ  ภาว. ภาว.

โอตรณํ
ตร
โอตริตพฺพนฺติ โอตรณํ การข้ามลง โอ-ตร-ยุ  ภาว. ภาว.

ธรณํ
ธร
ธรณํ ธรณํ การทรงไว้  ธร-ยุ  ภาว. ภาว.

มรณํ
มร
มรณํ มรณํ ความตาย มร-ยุ  ภาว. ภาว.

ปูรณํ
ปูร
ปูรณํ ปูรณํ ความเต็ม  ปูร-ยุ  ภาว. ภาว.

ภรณํ
ภร
ภรณํ ภรณํ การเลี้ยงดู  ภร-ยุ  ภาว. ภาว.

สํวรณํ
วร
สํวรณํ สํวรณํ การสำรวมระวัง  สํ-วร-ยุ  ภาว. ภาว.

สรณํ
สร
สรติ นนฺติ สรณํ (รตนตฺตยํ) เป็นที่ระลึก สร-ยุ  กัม. กัม.

รโชหรณํ
หร
รชํ หรติ เตนาติ รโชหรณํ (วตฺถํ) เป็นเครื่องนำไปซึ่งธุลี รช-หร-ยุ  กัตตุ. กรณ.

ทนฺตาวรณํ
วร
ทนฺเต อาวาเรติ เตนาติ ทนฺตาวรณํ (องฺคํ) เป็นเครื่องปกปิดซึ่งฟัน, ริมฝีปาก  ทนฺต-อา-วร-ยุ  กัตตุ. กรณ.

หลัง ญา มา รกฺข ลู สม ธาตุ เป็นต้น  แปลง ยุ เป็น อณ เช่น

ญาณํ
ญา
ชานนํ ญาณํ ความรู้  ญา-ยุ  ภาว. ภาว.

ปมาณํ
มา
มาติ เตนาติ ปมาณํ (วตฺถุ) เป็นเครื่องนับ ป-มา-ยุ  กัตตุ. กรณ.

รกฺขณํ
รกฺข
รกฺขณํ การรักษา  รกฺข-ยุ  ภาว. ภาว.

โลณํ
ลู
รสํ ลุนาติ เตนาติ โลณํ (วตฺถุ) เป็นเครื่องตัด (ซึ่งรส), เกลือ  ลู-ยุ  กัตตุ. กรณ.

สมโณ
สมุ
สมฺมตีติ สมโณ ผู้สงบ  สมุ-ยุ  กัตตุ. กัตตุ.


สมุ
ปาปธมฺมํ สเมติ เตนาติ สมโณ (ธมฺโม) เป็นเครื่องยังบาปธรรมให้สงบ  สมุ-ยุ  กัตตุ. กรณ.


สมุ
กลหํ วูปสมิยเตติ กลหวูปสมนํ การยังความทะเลาะให้เข้าไปสงบวิเศษ  กลห-วิ-อุป-สมุ-ยุ  ภาว. ภาว.

อารมฺมณํ
รม
อาคนฺตวา อาภุโส วา จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา รมนฺติ เอตฺถาติ อารมฺมณํ (ธมฺมชาตํ) เป็นที่มายินดี (แห่งจิต) อา-รม-ยุ  กัตตุ. อธิกรณ.

ธาตุมี เป็นที่สุด  แปลง ยุ เป็น อณ บ้าง  เช่น

วาหนํ
วห
วหติ เตนาติ  วาหนํ (ยานํ) เป็นเครื่องนำไป  วห-ยุ  กัตตุ. กรณ.

คหณํ
คห
คหณํ คหณํ คณฺหณํ การถือเอา  คห-ยุ, คห-ณฺหา-ยุ  ภาว. ภาว.

โรหณํ
รุห
อภิรุหณํ อภิรุหณํ, โรหณํ โรหณํ การงอกขึ้น, การเจริญขึ้น  อภิ-รุห-ยุ, รุห-ยุ  ภาว. ภาว.

นิคฺคหณํ

นิคฺคหณํ นิคฺคหณํ การข่ม  นิ-คห-ยุ  ภาว. ภาว.

ปคฺคหณํ

ปคฺคหณํ ปคฺคหณํ การยกย่อง  ป-คห-ยุ  ภาว. ภาว.

สหนํ

สหนํ สหนํ ความอดกลั้น  สห-ยุ  ภาว. ภาว.

วหนํ

วหนํ วหนํ ความนำไป  วห-ยุ  ภาว. ภาว.

อุปนยฺหนํ

อุปนยฺหนํ ความผูก, การเข้าไปผูก อุป-นห-ย-ยุ  ภาว. ภาว.

หลัง ญา ธาตุ แปลง ยุ เป็น อานน บ้าง  เช่น

สญฺชานนํ

สญฺชานนํ การรู้พร้อม  สํ-ญา-ยุ  ภาว. ภาว.

ปชานนํ

ปชานนํ การรู้ทั่ว  ป-ญา-ยุ  ภาว. ภาว.
คพฺภปาตนํ  ปต  คพฺภํ ปาเตติ เตนาติ คพฺภปาตนํ (เภสชฺชํ) เป็นเครื่องยังสัตว์เกิดในครรภ์ให้ตกไป  คพฺภ-ปต-เณ-ยุ  กัตตุ. กรณ.
ตุํ ปัจจัย  ไม่ใช้ลงในรูป และสาธนะอะไรๆ  ใช้แทนวิภัตตินามคือ ปฐมาวิภัตติ และ จตุตถีวิภัตติ  เป็นอัพยยปัจจัย แจกด้วยวิภัตตินามไม่ได้  เช่น  ทาตุํ การให้, เพื่อการให้
ถ้าไม่เปลี่ยนแปลงอะไร  ให้ลง อิ อาคมหลังธาตุ  เช่น  ภวิตุํ  เพื่ออันเป็น, ปจิตุํ เพื่ออันหุง, มริตุํ เพื่ออันตาย
ธาตุมี , , , เป็นที่สุด  ลบที่สุดธาตุ แล้วซ้อน ตฺ   เช่น  ปตฺตุํ เพื่ออันถึงกตฺตุํ เพื่ออันทำ, วตฺตุํ เพื่ออันกล่าว
ธาตุมี,   เป็นที่สุด  ลบที่สุดธาตุ แล้วซ้อน นฺ   เช่น  คนฺตุํ เพื่ออันไปหนฺตุํ เพื่ออันฆ่า
ธาตุมี ,   เป็นที่สุด  ลบที่สุดธาตุ แล้วแปลง ตุํ เป็น ทฺธุํ เช่น  ลทฺธุํ เพื่ออันได้, อารทฺธุํ เพื่ออันปรารภ
ธาตุมี  เป็นที่สุด  ลบที่สุดธาตุ แล้วแปลง ตุํ เป็น ฏฺฐุํ   เช่น  ทฏฺฐุํ เพื่ออันเห็น, ผุฏฺฐุํ เพื่ออันถูกต้อง
แปลงตัวธาตุบ้าง  เช่น  กาตุํ เพื่ออันทำ, ปิวิตุํ เพื่ออันดื่ม
คนฺตเว เพื่ออันไป คม-ตเว  แปลง มฺ ที่สุดธาตุเป็น นฺ
ญาตเว เพื่ออันรู้   ญา-ตเว    
ปหาตเว เพื่ออันละ  ป-หา-ตเว
เนตเว เพื่ออันนำไป  นี-ตเว
-   ณฺวุ    เช่น  ธมฺมสฺส  เทสโก
- ตุ    เช่น  สุขสฺส  ทาตา
- ยุ    เช่น  สพฺพปาปสฺส  อกรณํ

อาวี
ภยํ ปสฺสติ สีเลนาติ ภยทสฺสาวี ผู้เห็นซึ่งภัยโดยปกติ  ทิส-อาวี แปลง ทิส เป็น ทิสฺส แล้วลบ อิ

อิน
ชินาตีติ ชิโน, สุปยเตติ สุปินํ

อิก
คนฺตุํ ภพฺโพติ คมิโก, คนฺตุํ อิจฺฉตีติ คมิโก, คจฺฉตีติ คมิโก, โอปนยิโก, ทีปิกา

ณุก
การุโก, กามุโก

ตยฺย
ญาตยฺยํ, ปาตยฺยํ, ปตฺตยฺยํ, ทฏฺฐยฺยํ, ลทฺธยฺยํ

ตุก
อาคนฺตุโก

ทุโม, ถาโม

อนฺตโก

รตฺถุ
วตฺถุ, สตฺถุ

รมฺม
กมฺมํ, ธมฺโม

ริจฺจ
กิจฺจํ

ริตุ
ธีตา, ปิตา

ริริย
กิริยา

ราตุ
ภาตา, มาตา

ถ อถ
 สมถ, กิลมถ


การพฤทธิ์ด้วย อ ปัจจัย
1.               ธาตุพยางค์เดียว
2.               ธาตุหลายพยางค์

อิ ปัจจัย

ปัจจัย

ยุ ปัจจัย
มีอำนาจให้พฤทธิ์ธาตุได้เช่นเดียวกับ อ ปัจจัย นามกิตก์/อาขยาต
ปุงลิงค์  แจกอย่าง ชน
ในเหตุกัตตุวาจก ลง เณ ณาเป ปัจจัย  เช่น  การณํ, การาปนํ, คาหนํ, คาหาปนํ, ภาวนา, ภาวาปนํ
ตุํ ปัจจัย
1.               ธาตุพยางค์เดียว  คงไว้บ้าง แปลงบ้าง  เช่น  ปาตุํ เพื่ออันดื่ม, ฐาตุํ เพื่ออันตั้ง, ญาตุํ เพื่ออันรู้, ชิตุํ เพื่ออันชนะ, เนตุํ เพื่ออันนำไป, โสตุํ เพื่ออันฟัง
2.               ธาตุ 2 พยางค์ขึ้นไป
ตเว ปัจจัย
ตเว ปัจจัย  ไม่ใช้ลงในรูปและสาธนะอะไรๆ  ใช้แทนวิภัตตินามคือ จตุตถีวิภัตติ ‘เพื่อ’  เป็นอัพยยปัจจัย แจกด้วยวิภัตตินามไม่ได้  เช่น
กาตเว เพื่ออันทำ   กร-ตเว  แปลง กร เป็น กา    

ปัจจัยเหล่านี้
1.               กฺวิ  รู  ติ  ลงแล้ว ลบที่สุดธาตุได้
2.               บังคับให้ฉัฏฐีวิภัตติลงในอรรถแห่งทุติยาวิภัตติ  มี 4 ตัว  คือ
ปัจจัยนอกแบบ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น