กิจจปัจจัย เป็นเครื่องหมาย กัมมสาธนะ และ ภาวสาธนะ มี 2 คือ ข ณฺย
กิจจปัจจัย เป็นเครื่องหมายกัมมสาธนะ และ ภาวสาธนะเป็น กัมมรูป กัมมสาธนะ แปลว่า “อันเขา...”, “อันเขาพึง...”
ปุงลิงค์ แจกอย่าง ปุริส, อิตถีลิงค์ ลง อา ปัจจัย แจกอย่าง กญฺญา นปุงสกลิงค์ แจกอย่าง กุล
(ป.เอก. สุลโภ, สุลภา, สุลภํ)
ข ปัจจัย มีอำนาจให้พฤทธิ์ได้ เหมือนปัจจัยที่เนื่องด้วย ณ ลงแล้วลบ ขฺ ลบเสีย
ลงหลังธาตุที่มีบทหน้า 3 ตัว คือ ทุ (ยาก ลำบาก), สุ (สุข สบาย ง่าย), อีสํ (หน่อยหนึ่ง)
1.
|
ทุ
เป็น บทหน้า
|
||
กร
|
ทุกฺเขน กริยตีติ ทุกฺกรํ
(กมฺมํ) อันเขาทำโดยยาก ทุ-กร-ข ซ้อน กฺ กัมมรูป กัมมสาธนะ
กรรมใด อันเขา ย่อมทำ โดยยาก เหตุนั้น กรรมนั้น ชื่อว่า อันเขาทำได้โดยยาก |
||
ภร
|
ทุกฺเขน
ภริยตีติ
ทุพฺภโร อันเขาเลี้ยงได้โดยยาก ทุ-ภร-ข
|
||
วจ
|
ทุกฺเขน
วจิยตีติ
ทุพฺพโจ อันเขาว่ากล่าวได้โดยยาก ทุ-วจ-ข
|
||
ทิส
|
ทุกฺเขน
ทสฺสิตพฺพนฺติ
ทุทฺทสํ (จิตฺตํ) อันเขาพึงเห็นได้โดยยาก ทุ-ทิส-ข
เอา อิ เป็น อ ซ้อน ทฺ
|
||
ทิส
|
สุฏฺฐุ
ทุกฺเขน ทสฺสิตพฺนติ
สุทุทฺทสํ (จิตฺตํ) อันเขาพึงเห็นได้โดยยากด้วยดี สุ-ทุ-ทิส-ข
ลบ อิ ซ้อน ทฺ
|
||
ลภ
|
ทุกฺเขน
ลพฺภตีติ ทุลฺลภา (ภิกฺขา)
อันเขา(หา)ได้โดยยาก ทุ-ลภ-ข
|
||
รกฺข
|
ทุกฺเขน
รกฺขิยตีติ
ทุรกฺขํ (จิตฺตํ) อันเขารักษาได้โดยยาก ทุ-รกฺข-ข
|
||
พุธ
|
ทุกฺเขน
อนุพุชฺฌิตพฺโพติ
ทุรนุโพโธ (ธมฺโม) อันเขาพึงรู้ตามโดยยาก ทุ-อนุ-พุธ-ข
ลง รฺ อาคม
|
||
ชีว
|
ทุกฺเขน
ชีวยเตติ
ทุชฺชีวํ ความเป็นอยู่โดยยาก ทุ-ชีว-ข
ซ้อน ชฺ ภาวรูป ภาวสาธนะ
อันเขา ย่อมเป็นอยู่ โดยยาก เหตุนั้น ชื่อว่า ความเป็นอยู่โดยยาก |
||
2.
|
สุ
เป็น บทหน้า
|
||
กร
|
สุเขน
กริยตีติ
สุกรํ (กมฺมํ) อันเขาทำได้โดยง่าย สุ-กร-ข
|
||
ภร
|
สุเขน
ภริยตีติ
สุภโร อันเขาเลี้ยงได้โดยง่าย สุ-ภร-ข
|
||
วจ
|
สุเขน
วจิยตีติ
สุวโจ อันเขาว่ากล่าวได้โดยง่าย สุ-วจ-ข
|
||
ทิส
|
สุเขน
ปสฺสิตพฺพนฺติ
สุทสฺสํ (วชฺชํ) อันเขาพึงเห็นได้โดยง่าย สุ-ทิส-ข
แปลง ทิส เป็น ทสฺส
|
||
ลภ
|
สุเขน
ลพฺภตีติ สุลภา (ภิกฺขา)
อันเขา(หา)ได้โดยง่าย สุ-ลภ-ข
|
||
ชีว
|
สุเขน
ชีวยเตติ สุชีวํ สุ-ชีว-ข
อันเขา ย่อมเป็นอยู่ โดยง่าย เหตุนั้น ชื่อว่า ความเป็นอยู่ได้โดยง่าย |
||
3.
|
อีสํ
เป็น บทหน้า
|
||
กร
|
อีสํ
กริยตีติ
อีสกฺกรํ (กมฺมํ) อันเขาทำได้นิดหน่อย อีสํ-กร-ข
ซ้อน กฺ
|
ปุงลิงค์ แจกอย่าง ปุริส, อิตถีลิงค์ ลง อา ปัจจัย แจกอย่าง กญฺญา, นปุงสกลิงค์ แจกอย่าง กุล
(ป.เอก. เทยฺโย, เทยฺยา, เทยฺยํ)
1.
|
ลงหลังธาตุพยางค์เดียว ถ้าเป็น
อา แปลง อา กับ ณฺย เป็น เอยฺย
|
||
ทา
|
ทาตพฺพนฺติ
เทยฺยํ (วตฺถุ)
อันเขาพึงให้ ทา-ณฺย
|
||
ญา
|
ญาตพฺโพติ
เญยฺโย (ธมฺโม)
อันเขาพึงรู้ ญา-ณฺย
|
||
ญา
|
วิญฺญาตพฺพนฺติ
วิญฺเญยฺยํ (อารมฺมณํ)
อันเขาพึงรู้แจ้ง วิ-ญา-ณฺย
|
||
ญา
|
สุเขน
วิชานิตพฺโพติ สุวิญฺเญยฺโย
(ธมฺโม) อันเขาพึงรู้แจ้งโดยง่าย สุ-วิ-ญา-ณฺย
|
||
ธา
|
มาเรน
ธาเรตพฺพนฺติ มารเธยฺยํ
(ฐานํ) อันมารพึงทรงไว้, (บ่วงแห่งมาร)
มาร-ธา-ณฺย
|
||
นี
|
เนตพฺพนฺติ
เนยฺยํ (วตฺถุ)
อันเขาพึงนำไป นี-ณฺย ซ้อน
ยฺ
|
||
นี
|
เนตพฺโพติ
เนยฺโย (สตฺโต)
อันเขาพึงแนะนำ นี-ณฺย ซ้อน
ยฺ
|
||
นี
|
วิเนตพฺโพติ
เวเนยฺโย อันเขาพึงแนะนำ วิ-นี-ณฺย ซ้อน ยฺ
|
||
2.
|
ธาตุ
2 พยางค์ขึ้นไป ลบ ณฺ แล้วคง ย ไว้
|
||
วร
|
นิวาเรตพฺพนฺติ
นิวารยํ (กมฺมํ)
อันเขาพึงห้าม นิ-วร-ณฺย
|
||
วร
|
ทุกฺเขน
นิวาริยตีติ ทุนฺนิวารยํ
(จิตฺตํ) อันเขาห้ามได้โดยยาก ทุ-นิ-วร-ณฺย
|
||
3.
|
ธาตุ
2 พยางค์ขึ้นไป ลบ ณฺ แล้วคง ย ไว้
ถ้าไม่แปลงเป็นอย่างอื่น ลง อิ อาคม
|
||
กร
|
กาตพฺพนฺติ
การิยํ (กมฺมํ)
อันเขาพึงทำ กร-ณฺย
|
||
หร
|
หริตพฺพนฺติ
หาริยํ (กมฺมํ)
อันเขาพึงนำไป หร-ณฺย
|
||
ภร
|
ภริตพฺพนฺติ
ภาริยํ (กมฺมํ)
อันเขาพึงนำไป ภร-ณฺย
|
||
จร
|
จรณํ จริยา ความประพฤติ จร-ณฺย
ไม่ทีฆะต้นธาตุ
|
||
จร
|
จริตพฺพนฺติ จริยา ความประพฤติ จร-ณฺย
ไม่ทีฆะต้นธาตุ
|
||
จร
|
ธมฺมสฺส
จรณํ
ธมฺมจริยา ความประพฤติซึ่งธรรม ธมฺม-จร-ณฺย
ไม่ทีฆะต้นธาตุ
|
||
จร
|
อาทเรน
จริตพฺโพติ
อาจริโย (เถโร) อันศิษย์พึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ อา-จร-ณฺย
ไม่ทีฆะต้นธาตุ
|
||
4.
|
ลบ
ณฺ แล้วแปลง ย กับพยัญชนะที่สุดธาตุเป็นอย่างอื่น
|
||
ลภ
|
ลภิตพฺพนฺติ
ลพฺภํ (วตฺถุ)
อันเขาพึงได้ ลภ-ณฺย แปลง
ภย เป็น ภ ซ้อน พฺ
|
||
สาส
|
สาสิตพฺโพติ
สิสฺโส (ชโน)
อันอาจารย์พึงสั่งสอน สาส-ณฺย แปลง อา เป็น อิ แปลง สฺย เป็น สฺส
|
||
หน
|
(มคฺเคน) วธิตพฺพนฺติ วชฺฌํ
(กิเลสชาตํ) อันมรรคพึงฆ่า
หน-ณฺย แปลง หน เป็น วธ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ กัมม. กัมม.
|
||
หน
|
วธิตพฺพาติ
วชฺฌา (คาวี)
อันเขาพึงฆ่า, ที่จะถูกเชือด หน-ณฺย กัมม. กัมม.
|
||
หน
|
วธนํ
วชฺฌํ การฆ่า
|
||
อีส
|
อิจฺฉนํ
อิจฺฉา ความปรารถนา อีส-ณฺย แปลง สฺย เป็น จฺฉ
|
||
5.
|
หลังธาตุที่มี
จ เป็นที่สุด แปลง จ เป็น ก ธาตุที่มี ช เป็นที่สุด
แปลง ช เป็น ค เมื่อลงปัจจัยนามกิตก์ที่เนื่องด้วย
ณ (ยกเว้น ณฺวุ)
|
||
วจ
|
อติ
วจิตพฺพนฺติ อติวากฺยํ
(วจนํ) อันเขาพึงกล่าวล่วงเกิน อติ-วจ-ณฺย
แปลง จ เป็น ก
|
||
ภช
|
ภชิตพฺพนฺติ
ภาคฺยํ (วตฺถุ)
อันเขาพึงแบ่ง อติ-ภช-ณฺย
|
||
6.
|
ธาตุที่มี
ช เป็นที่สุด
แปลง ย กับที่สุดธาตุ เป็น คฺค
|
||
ยุช
|
ยุญฺชิตพฺพนฺติ
โยคฺคํ (วตฺถุ)
อันเขาพึงประกอบ ยุช-ณฺย
|
||
ภุช
|
ภุญฺชิตพฺพนฺติ
โภคฺคํ (วตฺถุ)
อันเขาพึงกิน ภุช-ณฺย
|
||
7.
|
หลังธาตุที่มี
ช ท เป็นที่สุด
แปลง ย กับที่สุดธาตุ เป็น ชฺช
|
||
วช
|
ปพฺพชฺชนํ
ปพฺพชฺชา ป-วช-ณฺย
แปลง ว เป็น พ
ซ้อน พฺ
|
||
วช
|
ปพฺพชิตพฺพนฺติ
ปพฺพชฺชา ป-วช-ณฺย
|
||
วิท
|
วิญฺญาตพฺพาติ/เวทิตพฺพาติ
วิชฺชา (ธมฺมชาติ)
อันเขาพึงรู้ วิท-ณฺย แปลง
ทฺย เป็น ชฺช
|
||
วิท
|
วิชานนํ วิชฺชา ความรู้
|
||
ปท
|
นิปชฺชนํ นิปชฺชา การนอน นิ-ปท-ณฺย
|
||
วจ
|
วตฺตพฺพนฺติ/วทิตพฺพนฺติ
วชฺชํ (วจนํ)
อันเขาพึงกล่าว วท-ณฺย
|
||
ขาท
|
ขาทิตพฺพนฺติ
ขชฺชํ (วตฺถุ)
อันเขาเคี้ยวกิน ขาท-ณฺย รัสสะ อา เป็น อ
|
||
มท
|
มทิตพฺพนฺติ
มชฺชํ (ปานํ)
อันเขาพึงเมา มท-ณฺย
|
||
ภุช
|
ภุญฺชิตพฺพนฺติ
โภชฺชํ (วตฺถุ)
อันเขาพึงกิน ภุช-ณฺย “อนฺนํ
ปานํ จ อาทาย ขชฺชํ โภชฺชํ อนปฺปกํ”
|
||
ยุช
|
นิยุญฺชิตพฺโพติ
นิโยชฺโช (สตฺโต)
อันเขาพึงประกอบ ยุช-ณฺย
|
||
8.
|
หลังธาตุที่มี
ม เป็นที่สุด
แปลง ย กับที่สุดธาตุ เป็น มฺม
|
||
ทม
|
ทมิตพฺโพติ
ทมฺโม อันเขาพึงฝึก/ทรมาน ทม-ณฺย
|
||
คม
|
คนฺตพฺโพติ
คมฺโม (คาโม)
อันเขาพึงถึง คม-ณฺย
|
||
คม
|
คนฺตพฺพนฺติ
คมฺมํ (ฐานํ,
ธมฺมชาตํ) อันเขาพึงถึง คม-ณฺย
|
||
คม
|
คมนํ
คมฺมํ การไป, การถึง
คม-ณฺย
|
||
9.
|
หลังธาตุที่มี
ห เป็นที่สุด
แปลง ย กับที่สุดธาตุ เป็น ยฺห
|
||
สห
|
ปสหิตพฺโพติ ปสยฺโห อันเขาพึงข่ม ป-สห "ข่ม ข่มเหง
ครอบงำ"-ณฺย
|
||
สห
|
ปสหนํ ปสยฺโห การข่ม ป-สห "ข่ม ข่มเหง
ครอบงำ"-ณฺย
|
||
ครห
|
ครหิตพฺพนฺติ
คารยฺหํ (กมฺมํ)
อันเขาพึงติเตียน ครห-ณฺย
|
||
คยฺหํ
|
คห
|
คณฺหิตพฺพนฺติ
คยฺหํ (วตฺถุ)
อันเขาพึงถือ คห-ณฺย
|
|
10.
|
อื่นๆ
|
||
กํข
|
ปฏิกงฺขิตพฺพาติ
ปาฏิกงฺขา (ทุคฺคติ)
อันเขาพึงหวังเฉพาะ ปฏิ-กํข-ณฺย เอา อ เป็น อา นิคคหิตเป็น งฺ แปลง ย เป็น อา
|
||
กํข
|
ปฏิกงฺขนํ
ปาฏิกงฺขา ความหวังเฉพาะ
|
วุฑฺฒิเยว ภิกฺขเว ภิกฺขูนํ ปาฏิกงฺขา, โน ปริหานิ. ดูก่อนภิกษุ ท. ความเจริญนั่นเทียว อันภิกษุ ท. พึงหวังเฉพาะ, ความเสื่อมรอบ อันภิกษุ ท. ไม่พึงหวังเฉพาะ,
นตฺถิ ตุยฺหํ สุคติ, ทุคฺคติเยว ตุยฺหํ ปาฏิกงฺขา. สุคติ ย่อมไม่มี แก่เจ้า, ทุคคตินั่นเทียว อันเจ้า พึงหวังเฉพาะ.
พหู เอเต เอกสฺส มยฺหํ อวิสยฺหา. ฤาษี ท. เหล่านั่น มาก อันข้าพระองค์ ผู้เดียว ไม่พึงข่มขี่ได้.
ณฺย ปัจจัย
เป็นปัจจัยที่เนื่องด้วย ณ มีอำนาจให้พฤทธิ์ต้นธาตุได้
แล้วลบ ณฺ เสีย เหลือไว้แต่ ย
เต จ
ภิกฺขู คารยฺหา.
อนึ่ง ภิกษุ ท. เหล่านั้น อันท่าน
พึงติเตียน.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น