วันพฤหัสบดีที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

นามกิตก์ กิตปัจจัย กัตตุสาธนะ มี 5 คือ กฺวิ ณี ณฺวุ ตุ รู

กิตปัจจัย เป็นเครื่องหมาย กัตตุสาธนะ   มี คือ  กฺวิ  ณี  ณฺวุ  ตุ  รู

1.
ลงหลังธาตุพยางค์เดียว  ลบ กฺวิ  เช่น

สยมฺภู
ภู
สยํ  ภวตีติ  สยมฺภู (ภควา)  ผู้เป็นเอง  สยํ-ภู-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.
(โย ภควา) สยํ  ภวติ อิติ  (โส ภควา) สยมฺภู
พระผู้มีพระภาคเจ้า ใด  ย่อมเป็น เอง  เหตุนั้น  พระผู้มีพระภาคเจ้า นั้น  ชื่อว่า ผู้เป็นเอง

สพฺพาภิภู
ภู
สพฺพํ  อภิภวตีติ  สพฺพาภิภู (ภควา)  ผู้ครอบงำซึ่งสิ่งทั้งปวง  สพฺพ-อภิ-ภู-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.

อภิภู
ภู
อภิ  วิสิฏฺเฐน  ภวตีติ  อภิภู (พุทฺโธ)   อภิ ไขความออกเป็น วิสิฏฺเฐน  อภิ-ภู-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.
พระพุทธเจ้า ใด ย่อมเป็นยิ่ง  คือว่า โดยยิ่ง  เหตุนั้น  พระพุทธเจ้า นั้น  ชื่อว่า  ผู้เป็นยิ่ง

มารชิ
ชิ
มารํ  ชินาตีติ  มารชิ (ภควา) ผู้ชนะซึ่งมาร  มาร-ชิ-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.

ปภา
ภา
ปภาตีติ ปภา (ธมฺมชาติ) ผู้ส่องสว่าง, รัศมี  ป-ภา-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.
2.
ลงหลังธาตุ 2 พยางค์ ให้ลบที่สุดธาตุ  แล้วลบ กฺวิ

อนฺตโก
กร
อนฺตํ  กโรตีติ  อนฺตโก (มจฺจุ)  ผู้กระทำซึ่งที่สุด, ความตาย   อนฺต-กร-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.

ภติโก
กร
ภตึ กโรตีติ ภติโก (ชโน) ผู้ทำซึ่งการรับจ้าง   ภติ-กร-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.

สงฺโข
ขน
สํ สุฏฺฐุ  ขนตีติ  สงฺโข (สตฺโต) ผู้ขุดดี   สํ-ขน-กฺวิ  ลบที่สุดธาตุ  กัตตุ. กัตตุ.
สัตว์ใด  ย่อมขุด ดี  คือว่า ด้วยดี  เหตุนั้น  สัตว์นั้น  ชื่อว่า ผู้ขุดดี

อุรโค
คม
อุเรน (อุรสา) คจฺฉตีติ  อุรโค (สตฺโต)  ผู้ไปด้วยอก   อุร-คม-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.

ภุชโค
คม
ภุเชน คจฺฉตีติ  ภุชโค ภุชงฺโค (สตฺโต) ผู้ไปด้วยขนด, งู  ภุช-คม-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.  บทหลังลงนิคคหิตอาคม

ตุรโค
คม
ตุรํ  คจฺฉตีติ  ตุรโค ตุรงฺโค (สตฺโต) ผู้ไปเร็ว, ม้า  ตุร-คม-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.  บทหลังลงนิคคหิตอาคม

วิหโค
คม
วิหายเส คจฺฉตีติ วิหโค (สตฺโต) ผู้ไปในท้องฟ้า, นก  วิหายส-คม-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.

นโค
คม
น คจฺฉตีติ  นโค นงฺโค อโค ผู้ไม่ไป (คืออยู่กับที่), ต้นไม้, ภูเขา, ปราสาท  น-คม-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.

กุญฺชโร
รม
กุญฺเช  รมตีติ  กุญฺชโร (สตฺโต) ผู้ยินดีในเงื้อมเขา, ช้าง  กุญฺช-รม-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.

อตฺรโช
ชน
อตฺตนา ชายตีติ อตฺรโช (ปุตฺโต)  ผู้เกิดจากตน  อตฺต-ชน-กฺวิ  แปลง ต เป็น ร  กัตตุ. กัตตุ.

กมฺมโช
ชน
กมฺเมหิ ชายตีติ กมฺมโช (ชโน)  ผู้เกิดจากกรรม  กมฺม-ชน-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.

กมฺมโช
ชน
กมฺมโต ชาโตติ  กมฺมโช (วิปาโก) อันเกิดแล้วจากกรรม  กมฺม-ชน-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.



กมฺมโต ชาตาติ กมฺมชา (ปฏิสนฺธิ)
กมฺมโต ชาตนฺติ กมฺมชํ (รูปํ) 

วาริชํ
ชน
วาริมฺหิ ชาตํ วาริชํ (อุปฺปลํ) อันเกิดในน้ำ, บัว  วาริ-ชน-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.

วาริโช
ชน
วาริมฺหิ ชาโต  วาริโช (สตฺโต) อันเกิดในน้ำ, ปลา  วาริ-ชน-กฺวิ

ปงฺกชํ
ชน
ปงฺเก ชาตํ  ปงฺกชํ (ปุปฺผํ) อันเกิดในตม, ดอกบัว  ปงฺก-ชน-กฺวิ

อณฺฑโช
ชน
อณฺฑโต ชายตีติ  อณฺฑโช ผู้เกิดจากไข่  อณฺฑ-ชน-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.

ชลโช
ชน
ชเล ชาโต ชลโช ผู้เกิดในน้ำ  ชล-ชน-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.

อนุโช
ชน
ปจฺฉา/อนุ ชาโต อนุโช ผู้เกิดภายหลัง  อนุ-ชน-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.

ทฺวิโช
ชน
ทฺวิกฺขตฺตุํ ชายตีติ/ชาโต/ชาโตติ ทฺวิโช ทิโช ผู้เกิดสองหน, นก, พราหมณ์  ทฺวิ-ชน-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.

อีทิโส
ทิส
อิมํ อิว  นํ ปสฺสตีติ อีทิโส (ปุริโส) ผู้เช่นนี้  อิม-ทิส-กฺวิ แปลง อิม เป็น อิ
(ชน ย่อมเห็น ซึ่งบุรุษนั้น เพียงดัง บุคคลนี้  เหตุนั้น  บุรุษนั้น ชื่อว่า ผู้ถูกเห็นเหมือนบุคคลนี้)


ทิส
อยํ วิย ทิสฺสตีติ อีทิโส (ปุริโส) ผู้เช่นนี้
(บุรุษใด อันเขา ย่อมเห็น เพียงดัง บุคคลนี้  เหตุนั้น  บุรุษนั้น ชื่อว่า อันเขาเห็นเพียงดังบุคคลนี้)

ปุ.
อิต.
นปุ.


อีทิโส
อีทิสา อีทิสี
อีทิสํ
ผู้/อันเช่นนี้
อิม-ทิส-กฺวิ แปลง อิม เป็น อิ
ยาทิโส
ยาทิสา ยาทิสี
ยาทิสํ
ผู้/อันเช่นใด
ย-ทิส-กฺวิ  ทีฆะ อ ที่ ย
ตาทิโส
ตาทิสา ตาทิสี
ตาทิสํ
ผู้/อันเช่นนั้น
ต-ทิส-กฺวิ  ทีฆะ อ ที่ ต
ตาทิโส
ตาทิสา ตาทิสี
-
ผู้เช่นกับด้วยท่าน
ตุมฺห-ทิส-กฺวิ  แปลง ตุมฺห เป็น ตา
ตุมฺหาทิโส
ตุมฺหาทิสี
-
ผู้เช่นกับด้วยท่าน
ตุมฺห-ทิส-กฺวิ  ทีฆะ อ ที่ ห
มาทิโส
มาทิสา มาทิสี
-
ผู้เช่นกับด้วยเรา
อมฺห-ทิส-กฺวิ  แปลง อมฺห เป็น มา
กีทิโส
กีทิสา กีทิสี
กีทิสํ
ผู้/อันเช่นไร
กึ-ทิส-กฺวิ  ลบนิคคหิต แล้วทีฆะ อิ
เอตาทิโส
เอตาทิสา เอตาทิสี
เอตาทิสํ
ผู้/อันเช่นนั่น
เอต-ทิส-กฺวิ  ทีฆะ อ ที่ ต
สทิโส
สทิสา สทิสี
สทิสํ
ผู้/อันเช่นกับ
สมาน-ทิส-กฺวิ  แปลง สมาน เป็น ส

เฉพาะ วิท ธาตุ  ไม่ลบที่สุดธาตุ  แต่ลง อู อาคม (ถ้าลง รู ปัจจัย ต้องลบที่สุดธาตุ)

โลกวิทู
วิท
โลกํ  วิทตีติ  โลกวิทู (ภควา) ผู้รู้ซึ่งโลก   โลก-วิท-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.  (โลกํ เวทยติ)

สพฺพวิทู
วิท
สพฺพํ  วิทตีติ  สพฺพวิทู (ภควา)  ผู้รู้ซึ่งธรรมทั้งปวง  สพฺพ-วิท-กฺวิ  กัตตุ. กัตตุ.  (สพฺพํ เวทยติ)

ณี ปัจจัย
เป็น กัตตุรูป กัตตุสาธนะ ตัสสีละ แปลว่า “ผู้...โดยปกติ
เป็น สมาสรูป กัตตุสาธนะ ตัสสีละ แปลว่า “ผู้มีการ (ความ, อัน)...เป็นปกติ
ใน ปุงลิงค์ แจกอย่าง เสฏฺฐี,
อิตถีลิงค์ ลง อินี ปัจจัย แจกอย่าง นารี,
นปุงสกลิงค์ รัสสะ อี เป็น อิ  แจกอย่าง อกฺขิ
(ป.เอก.  ธมฺมจารีธมฺมจารินีธมฺมจาริ)
ณี ปัจจัย ลงหลังธาตุที่มีบทหน้าเสมอ  แล้วลบ ณ เสีย เหลือไว้แต่ อี 
เป็นปัจจัยที่เนื่องด้วย ณ มีอำนาจให้พฤทธิ์ต้นธาตุได้

1.
ธาตุพยางค์เดียว

มญฺจสายี
สี
มญฺเจ  สยติ  สีเลนาติ  มญฺจสายี  ผู้นอนบนเตียงโดยปกติ  มญฺจ-สี-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

ธมฺมสฺสาวี
สุ
ธมฺมํ  สุณาติ  สีเลนาติ  ธมฺมสฺสาวี  ผู้ฟังซึ่งธรรมโดยปกติ  ธมฺม-สุ-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ 

วิภาวี
ภู
วิภาเวติ  สีเลนาติ  วิภาวี  ผู้ยังอรรถให้เป็นแจ้งโดยปกติ   วิ-ภู-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ


ปัจจัยนามกิตก์ ที่เนื่องด้วย ณ เช่น ณี ณฺวุ ณ ลงท้ายธาตุพยางค์เดียว คือ อา  ให้แปลง อา เป็น อาย

อทินฺนาทายี
ทา
อทินฺนํ อาทิยติ สีเลนาติ อทินฺนาทายี ผู้ถือเอาซึ่งวัตถุอันเขาไม่ให้แล้วโดยปกติ อทินฺน-อา-ทา-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ 

มชฺชปายี
ปา
มชฺชํ  ปิวติ  สีเลนาติ  มชฺชปายี  ผู้ดื่มซึ่งน้ำเมาโดยปกติ  มชฺช-ปา-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

อุฏฺฐายี
ฐา
อุฏฺฐาติ  สีเลนาติ  อุฏฺฐายี  ผู้ลุกขึ้นโดยปกติ  อุ-ฐา-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

2.

ธาตุสองพยางค์

ธมฺมวาที
วท
ธมฺมํ วทติ  สีเลนาติ  ธมฺมวาที ผู้กล่าวซึ่งธรรมโดยปกติ  ธมฺม-วท-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ


วท
ธมฺมํ วทิตุํ  สีลมสฺสาติ ธมฺมวาที ผู้มีการกล่าวซึ่งธรรมเป็นปกติ  ธมฺม-วท-ณี  สมาส. กัตตุ. ตัสสีละ

นิคฺคยฺหวาที
วท
นิคฺคยฺห วทติ  สีเลนาติ  นิคฺคยฺหวาที ผู้กล่าวข่มโดยปกติ  นิคฺคยฺห-วท-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

มุสาวาที
วท
มุสา วทติ  สีเลนาติ  มุสาวาที ผู้กล่าวเท็จโดยปกติ  มุสา-วท-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

ปุญฺญการี
กร
ปุญฺญํ  กโรติ  สีเลนาติ  ปุญฺญการี  ผู้ทำซึ่งบุญโดยปกติ  ปุญฺญ-กร-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

ปาปการี
กร
ปาปํ  กโรติ  สีเลนาติ  ปาปการี  ผู้ทำซึ่งบาปโดยปกติ  ปาป-กร-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

มาลาการี
กร
มาลํ  กโรติ  สีเลนาติ  มาลาการี  ผู้ทำซึ่งระเบียบโดยปกติ  มาลา-กร-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

สาตจฺจการี
กร
สาตจฺเจน กโรติ สีเลนาติ สาตจฺจการี ผู้กระทำโดยติดต่อโดยปกติ  สาตจฺจ-กร-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

พฺรหฺมจารี
จร
พฺรหฺมํ จรติ  สีเลนาติ  พฺรหฺมจารี ผู้ประพฤติซึ่งพรหมจรรย์โดยปกติ  พฺรหฺม-จร-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

ปมตฺตจารี
จร
ปมตฺตํ จรติ  สีเลนาติ  ปมตฺตจารี ผู้ประพฤติประมาทแล้วโดยปกติ  ปมตฺต-จร-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

สนฺธิจฺเฉที
ฉิท
สนฺธึ  ฉินฺทติ  สีเลนาติ สนฺธิจฺเฉที ผู้ตัดซึ่งที่ต่อโดยปกติ  สนฺธิ "ที่ต่อ"-ฉิท-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

สุภาสิตภาสี
ภาส
สุภาสิตํ ภาสติ สีเลนาติ สุภาสิตภาสี ผู้กล่าวซึ่งคำอันเป็นสุภาษิตโดยปกติ  สุภาสิต-ภาส-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

ธมฺมภาณี
ภณ
ธมฺมํ ภณติ  สีเลนาติ  ธมฺมภาณี ผู้กล่าวซึ่งธรรมโดยปกติ  ธมฺม-ภณ-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

วาจานุรกฺขี
รกฺข
วาจํ  อนุรกฺขติ  สีเลนาติ วาจานุรกฺขี  ผู้ตามรักษาซึ่งวาจาโดยปกติ  วาจา-อนุ-รกฺข-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ 

กตเวที
วิท
กตํ (อุปการํ) เวเทติ สีเลนาติ กตเวที ผู้ยังบุคคลอื่นให้รู้ซึ่งอุปการะอันท่านทำแล้วโดยปกติ  กต-วิท-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

ปรูปฆาตี
หน
ปเร หนติ  สีเลนาติ  ปรูปฆาตี ผู้เข้าไปฆ่าซึ่งสัตว์อื่นโดยปกติ  ปร-อุป-หน-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

ปาณาติปาตี
ปต
ปาณํ อติปาเตติ สีเลนาติ  ปาณาติปาตี ผู้ยังสัตว์มีปราณให้ตกล่วงไปโดยปกติ  ปาณ-อติ-ปต-เณ-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

สาวตฺถีวาสิโน
วส
สาวตฺถิยํ วสนฺติ สีเลนาติ สาวตฺถีวาสิโน (ชนา) ผู้อยู่ในเมืองสาวัตถีโดยปกติ สาวตฺถี-วส-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

ทิสาวาสิโน
วส
ทิสาสุ วสนฺติ สีเลนาติ ทิสาวาสิโน (ภิกฺขุ) ผู้อยู่ในทิศโดยปกติ  ทิสา-วส-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

ธมฺมชีวี
ชีว
ธมฺเมน ชีวติ สีเลนาติ  ธมฺมชีวี ผู้เป็นอยู่โดยธรรมโดยปกติ  ธมฺม-ชีว-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

สุขวิหารี
หร
สุเขน วิหรติ สีเลนาติ สุขวิหารี ผู้อยู่โดยผาสุกโดยปกติ     สุข-วิ-หร-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ 

ปารคามี
คม
ปารํ คจฺฉติ สีเลนาติ  ปารคามี ผู้ถึงซึ่งฝั่งโดยปกติ  ปาร-คม-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

ปารคเวสี
คเวส
ปารํ คเวสติ สีเลนาติ ปารคเวสี ผู้แสวงหาซึ่งฝั่งโดยปกติ  ปาร-คเวส-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

ปรทารูปเสวี
เสว
ปรทารํ อุปเสวติ สีเลนาติ ปรทารูปเสวี ผู้เข้าไปเสพซึ่งภรรยาของผู้อื่นโดยปกติ  ปรทาร-อุป-เสว-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

สมฺปริวตฺตสายี
สี
สมฺปริวตฺโต สยติ สีเลนาติ สมฺปริวตฺตสายี ผู้นอนเป็นไปรอบพร้อมแล้วโดยปกติ  สมฺปริวตฺต-สี-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

ธมฺมรูจี
รุจ
ธมฺมํ  โรเจติ  สีเลนาติ ธมฺมรูจี  ผู้ชอบใจซึ่งธรรมโดยปกติ  ธมฺม-รุจ-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

วุฑฺฒาปจายี
จาย
วุฑฺฒานํ อปจายติ สีเลนาติ วุฑฺฒาปจายี ผู้ประพฤติอ่อนน้อมต่อผู้เจริญโดยปกติ  วุฑฺฒ-อป-จาย-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

ปรวชฺชานุปสฺสี
ทิส
ปรวชฺชํ อนุปสฺสติ สีเลนาติ ปรวชฺชานุปสฺสี ผู้ตามเห็นซึ่งโทษของผู้อื่นโดยปกติ  ปรวชฺช-อนุ-ทิส-ณี  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ


แปลงตัวธาตุ หรือพยัญชนะที่สุดธาตุได้บ้าง

ภยทสฺสี
ทิส
ภยํ  ปสฺสติ  สีเลนาติ  ภยทสฺสี  ผู้เห็นซึ่งภัยโดยปกติ  ภย-ทิส-ณี  แปลง ทิส เป็น ทสฺส  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

ปาณฆาตี
หน
ปาเณ  หนติ  สีเลนาติ  ปาณฆาตี  ผู้ฆ่าซึ่งสัตว์โดยปกติ  ปาณ-หน-ณี  แปลง หน เป็น ฆาต  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

กามโภคี
ภุช
กามํ  ภุญฺชติ  สีเลนาติ  กามโภคี  ผู้บริโภคซึ่งกามโดยปกติ  กาม-ภุช-ณี  แปลง ช เป็น ค  กัตตุ. กัตตุ. ตัสสีละ

กิตปัจจัย  
เป็นเครื่องหมายกัตตุสาธนะ
กฺวิ ปัจจัย เป็น กัตตุรูป กัตตุสาธนะ แปลว่า “ผู้...”
กฺวิ ปัจจัย ลงหลังธาตุที่มีบทหน้า (บทหน้าเป็นนามศัพท์บ้าง อุปสัคบ้าง นิบาตบ้าง)  เมื่อลงแล้วลบ กฺวิ เสียเป็นคุณนาม เป็นได้ ลิงค์  เช่น วาริโช (ปุ.) วาริชา (อิต.) วาริชํ (นปุ.)ถ้าใช้เป็นนามนามเลย คงเป็นลิงค์ใดลิงค์หนึ่งเท่านั้น เช่น สยมฺภู  อุรโค ตุรโค เป็นปุงลิงค์   ปภา วิภา เป็นอิตถีลิงค์


ณฺวุ ปัจจัย
เป็น กัตตุรูป กัตตุสาธนะ แปลว่า “ผู้...ปุงลิงค์  มีรูปเป็น อก แจกอย่าง ปุริส,อิตถีลิงค์ แปลง อ เป็น อิ  แล้วลง อา การันต์ มีรูปเป็น อิกา  แจกอย่าง กญฺญา  นปุงสกลิงค์ มีรูปเป็น อก  แจกอย่าง กุล  (ป. เอก.  นายโกนายิกานายกํ)
1.
ธาตุพยางค์เดียว คือ อา  แปลงเป็น อาย (ด้วยอำนาจปัจจัยเนื่องด้วย ณ)

ปายโก
ปา
ปิวตีติ  ปายโก  ผู้ดื่ม  ปา-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

ทายโก
ทา
เทตีติ  ทายโก ทายิกา ผู้ให้   ทา-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

อนฺนทายิกา
ทา
อนฺนํ เทตีติ  อนฺนทายิกา (นารี) ผู้ถวายซึ่งข้าวและน้ำ  อนฺน-ทา-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

อุปฏฺฐาโก
ฐา
อุปฏฺฐหตีติ  อุปฏฺฐาโก อุปฏฺฐายิกา ผู้บำรุง  อุป-ฐา-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

คิลานุปฏฺฐาโก
ฐา
คิลานํ ภิกฺขุํ อุปฏฺฐหตีติ  คิลานุปฏฺฐาโก (ภิกฺขุ) ผู้บำรุงซึ่งภิกษุผู้เป็นไข้   คิลาน-อุป-ฐา-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

สงฺฆุปฏฺฐาโก
ฐา
สงฺฆํ อุปฏฺฐหตีติ  สงฺฆุปฏฺฐาโก (ภิกฺขุ) ผู้บำรุงซึ่งสงฆ์  สงฺฆ-อุป-ฐา-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

ขีรปโก
ปา
ขีรํ ปิวตีติ  ขีรปโก (วจฺโฉ)  (ลูกวัว) ผู้ดื่มซึ่งน้ำนม  ขีร-ปา-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

นายโก
นี
เนตีติ  นายโก นายิกา  ผู้นำไป  นี-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

โลกนายโก
นี
โลกํ เนตีติ  โลกนายโก (สตฺถา) ผู้นำไปซึ่ง(สัตว์)โลก  โลก-นี-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

กยโก
กี
กีณาตีติ  กยโก ผู้ซื้อ  กี-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

สาวโก
สุ
สุณาตีติ  สาวโก สาวิกา ผู้ฟัง  สุ-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

ปาวโก
ปุ
ปาวตีติ  ปาวโก (อคฺคิ)  ผู้ชำระ, ไฟ   ปุ-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

ฐา
ภุมฺเม ติฏฺฐนฺตีติ  ภุมฺมฏฺฐกา (เทวา) ผู้ดำรงอยู่บนภาคพื้น   ภุมฺม-ฐา-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

2.

ลงหลังธาตุทั้งปวง  แปลง ณฺวุ  เป็น อก

กร
กโรตีติ  การโก การิกา ผู้ทำ  กร-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

วตฺตปฺปฏิวตฺตการโก
กร
วตฺตญฺจ ปฏิวตฺตญฺจ กโรตีติ  วตฺตปฺปฏิวตฺตการโก ผู้ทำซึ่งวัตรและวัตรอาศัย  วตฺตปฺปฏิวตฺต-กร-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

อนตฺถการโก
กร
อนตฺถํ กโรตีติ  อนตฺถการโก ผู้ทำซึ่งความฉิบหายมิใช่ประโยชน์  อนตฺถ-กร-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

ชาลการิกา
กร
ชาลํ กโรตีติ  ชาลการิกา (ตณฺหา) ผู้กระทำซึ่งข่าย  ชาล-กร-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

วิหารปฏิชคฺคโก
ชคฺค
วิหารํ ปฏิชคฺคตีติ  วิหารปฏิชคฺคโก ผู้ดูแลซึ่งวิหาร  วิหาร-ปฏิ-ชคฺค-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

โภชโก
ภุช
ภุญฺชตีติ  โภชโก ผู้กิน, ผู้บริโภค   ภุช-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

วนจรโก
จร
วเน จรตีติ  วนจรโก ผู้เที่ยวไปในป่า  วน-จร-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

ธมฺมโฆสโก
โฆส
ธมฺมํ โฆเสตีติ  ธมฺมโฆสโก ผู้ป่าวร้องซึ่งธรรม  ธมฺม-โฆส-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

อนุสาสโก
สาส
อนุสาสตีติ  อนุสาสโก  ผู้ตามสอน  อนุ-สาส-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

สหายโก
อิ
สห อยตีติ  สหายโก ผู้ไปร่วมกัน, สหาย  สห-อิ-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

คามโภชโก
ภุช
คามํ ภุญฺชตีติ  คามโภชโก ผู้บริโภคซึ่งบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน  คาม-ภุช-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

ยาจโก
ยาจ
ยาจตีติ  ยาจโก ผู้ขอ  ยาจ-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

นาฏกา
นฏ
นฏตีติ  นาฏกา (อิตฺถี) ผู้ฟ้อนรำ  นฏ-ณฺวุ  (ไม่แปลงเป็น อิ)  กัตตุ. กัตตุ.

รกฺขโก
รกฺข
รกฺขตีติ  รกฺขโก รกฺขิกา  ผู้รักษา  รกฺข-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

สหปํสุกีฬโก
กีฬ
สห ปํสุํ กีฬตีติ  สหปํสุกีฬโก (ทารโก) ผู้เล่นซึ่งฝุ่นร่วมกัน  สห-ปํสุ-กีฬ-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

อารกฺขโก
รกฺข
อารกฺขตีติ  อารกฺขโก ผู้รักษาทั่ว  อา-รกฺข-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

วํสานุรกฺขโก
รกฺข
วํสํ อนุรกฺขตีติ  วํสานุรกฺขโก ผู้ตามรักษาซึ่งวงศ์  วํส-อนุ-รกฺข-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

คาหโก
คห
คณฺหาตีติ  คาหโก ผู้จับ  คห-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

กสฺสโก กสโก
กส
กสฺสตีติ  กสฺสโก กสโก ผู้ไถ, ชาวนา  กส-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

สุสานโคปิกา
คุป
สุสานํ โคเปตีติ  สุสานโคปิกา (อิตฺถี) ผู้เฝ้าซึ่งสุสาน  สุสาน-คุป-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

ฉวฑาหโก
ฑห
ฉวํ ฑหตีติ  ฉวฑาหโก ฉวฑาหิกา ผู้เผาซึ่งซากศพ  ฉว-ฑห-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

กุหโก
กุห
กุเหตีติ  กุหโก ผู้โกหก  กุห-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

คเวสโก
คเวส
คเวสตีติ  คเวสโก ผู้แสวงหา  คเวส-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

อนุกมฺปโก
กมฺป
อนุกมฺเปตีติ  อนุกมฺปโก ผู้อนุเคราะห์, ผู้เอ็นดู  อนุ-กมฺป-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

โลกานุกมฺปโก
กมฺป
โลกํ อนุกมฺเปตีติ  โลกานุกมฺปโก (พุทฺโธ) ผู้อนุเคราะห์ซึ่งโลก  โลก-อนุ-กมฺป-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

อาจริยปูชโก
ปูช
อาจริยํ ปูเชตีติ  อาจริยปูชโก ผู้บูชาซึ่งอาจารย์  อาจริย-ปูช-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

ปติปูชิกา
ปูช
ปตึ ปูเชตีติ  ปติปูชิกา (อิตฺถี) ผู้บูชาซึ่งผัว  ปติ-ปูช-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

ปริจาริกา
จร
ปริจรตีติ  ปริจาริกา (อิตฺถี) ผู้บำเรอ  (ผู้อยู่รอบๆ ตัว คอยรับใช้)  ปริ-จร-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

สมาทปโก
ทย
สมาทเปตีติ  สมาทปโก ผู้ชักชวน  สํ-อา-ทย-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

กุลทูสโก
ทุส
กุลํ ทุสฺสตีติ  กุลทูสโก (ภิกฺขุ) ผู้ประทุษร้ายซึ่งตระกูล  กุล-ทุส-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

กุฏิทูสโก
ทุส
กุฏึ ทุสฺสตีติ  กุฏิทูสโก (ภิกฺขุ) ผู้ประทุษร้ายซึ่งกุฏิ  กุฏิ-ทุส-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

ตจฺฉโก
ตจฺฉ
ตจฺฉตีติ  ตจฺฉโก ผู้ถาก  ตจฺฉ-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

อหึสโก
หึส
น หึสตีติ  อหึสโก (มุนิ) ผู้ไม่เบียดเบียน  น-หึส-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

เมธคา
เมธ
เมธตีติ  เมธคา (ธมฺมชาติ) ผู้เบียดเบียน  เมธ-ณฺวุ  (ไม่แปลง อ เป็น อิแปลง ก เป็น ค)  กัตตุ. กัตตุ.

มหลฺลโก
ลา
มหตฺตํ ลาติ คณฺหาตีติ  มหลฺลโก ผู้ถือเอาซึ่งความเป็นผู้ใหญ่, คนแก่  มหนฺต-ลา-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

มาตุโปสโก
ปุส
มาตรํ โปเสตีติ  มาตุโปสโก (โพธิสตฺโต) ผู้เลี้ยงซึ่งมารดา  มาตุ-ปุส-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

อุปาสโก
อาส
(รตนตฺตยํ) อุปาสตีติ  อุปาสโก อุปาสิกา ผู้นั่งใกล้ (ซึ่งพระรัตนตรัย) อุป-อาส-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

เทสโก
ทิส
เทเสตีติ เทสโก ผู้แสดง  ทิส-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

ธมฺมเทสโก
ทิส
ธมฺมํ เทเสตีติ ธมฺมเทสโก (ภิกฺขุ) ผู้แสดงซึ่งธรรม  ธมฺม-ทิส-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

ภตฺตุทฺเทสโก
ทิส
ภตฺตํ อุทฺเทเสตีติ  ภตฺตุทฺเทสโก (ภิกฺขุ) ผู้แสดงขึ้นซึ่งภัตร, ผู้แจกภัตร ภตฺต-ทิส-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

มคฺคุทฺเทสโก
ทิส
มคฺคํ อุทฺเทเสตีติ  มคฺคุทฺเทสโก ผู้แสดงขึ้นซึ่งหนทาง   มคฺค-ทิส-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

ธนปาลโก
ปาล
ธนํ ปาเลตีติ  ธนปาลโก ผู้รักษาซึ่งทรัพย์  ธน-ปาล-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

โคปาลโก
ปาล
คาโว ปาเลตีติ  โคปาลโก ผู้รักษาซึ่งโค  โค-ปาล-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

ปเวณิปาลโก
ปาล
ปเวณึ ปาเลตีติ  ปเวณิปาลโก ผู้รักษาซึ่งประเพณี  ปเวณิ-ปาล-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

กจวรจฺฉฑฺฑโก
ฉฑฺฑ
กจวรํ ฉฑฺเฑตีติ กจวรจฺฉฑฺฑโก กจวรจฺฉฑฺฑิกา (ทาโส ทาสี) ผู้ทิ้งซึ่งหยากเยื่อ  กจวร-ฉฑฺฑ-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.


ธาตุเหล่านี้ คือ ญา ชน สม คม ทม วธ ฯลฯ ลงแล้วไม่ต้องพฤทธิ์ต้นธาตุด้วยอำนาจปัจจัยเนื่องด้วย ณ

หตฺถิทมโก
ทม
หตฺถึ ทเมตีติ  หตฺถิทมโก ผู้ฝึกซึ่งช้าง, ควาญช้าง  หตฺถี-ทม-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

กุลทมโก
ทม
กุลํ ทเมตีติ  กุลทมโก (เถโร) ผู้ฝึกซึ่งตระกูล  กุล-ทม-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.


เฉพาะ ญา ธาตุ แปลง ณฺวุ เป็น อานนก

ชานนโก
ญา
ชานาตีติ  ชานนโก  ผู้รู้   ญา-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

เภสชฺชชานนโก
ญา
เภสชฺชํ ชานาตีติ  เภสชฺชชานนโก  ผู้รู้ซึ่งเภสัช  เภสชฺช-ญา-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.


แปลงตัวธาตุ หรือพยัญชนะที่สุดธาตุได้บ้าง

ฆาตโก วธโก
หน
หนตีติ  ฆาตโก วธโก ผู้ฆ่า  หน-ณฺวุ  แปลง หน เป็น ฆาต หรือ วธ  กัตตุ. กัตตุ.

โคฆาตโก
หน
คาโว หนตีติ  โคฆาตโก ผู้ฆ่าซึ่งโค  โค-หน-ณฺวุ  แปลง หน เป็น ฆาต  กัตตุ. กัตตุ.

โจรฆาตโก
หน
โจรํ หนตีติ  โจรฆาตโก ผู้ฆ่าซึ่งโจร  โจร-หน-ณฺวุ  แปลง หน เป็น ฆาต  กัตตุ. กัตตุ.

หํสฆาตโก
หน
หํสํ หนตีติ  หํสฆาตโก ผู้ฆ่าซึ่งหงส์  หํส-หน-ณฺวุ  หน  แปลง หน เป็น ฆาต


ในเหตุกัตตุวาจก ลงเหตุปัจจัย 4 ตัว

ชนโก
ชน
ชเนตีติ ชนโก ชนิกา ผู้(ยังบุตร)ให้เกิด, พ่อ-แม่  ชน-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ.

สมฺปหํสโก
หส
สมฺปหํเสตีติ  สมฺปหํสโก  ผู้(ยังชน)ให้ร่าเริง   สํ-ป-หส-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ

สมุตฺเตชโก
ติช
สมุตฺเตเชตีติ  สมุตฺเตชโก  ผู้(ยังชน)ให้อาจหาญ  สํ-อุ-ติช-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ

การาปโก
กร
การาเปตีติ  การาปโก  ผู้(ยังชน)ให้ทำ  กร-ณาเป-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ

การโก
กร
การาเปตีติ  การโก  ผู้(ยังชน)ให้ทำ  กร-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ

ปติฏฺฐาปโก
ฐา
ปติฏฺฐาเปตีติ ปติฏฺฐาปโก ผู้(ยังชน)ให้ดำรงอยู่  ปติ-ฐา-ณาเป-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ

หตฺถิมารโก
มร
หตฺถึ มาเรตีติ หตฺถิมารโก ผู้ยังช้างให้ตาย, พราน(ล่า)ช้าง  หตฺถี-มร-เณ-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ

กปฺปวินาสโก
นส
กปฺปํ วินาเสตีติ  กปฺปวินาสโก (อคฺคิ) ผู้ยังกัปให้พินาศ  กปฺป-วิ-นส-เณ-ณฺวุ  กัตตุ. กัตตุ


ณฺวุ ปัจจัย ให้แปลหักฉัฏฐีวิภัตติ เป็นทุติยาวิภัตติ ได้

  สพฺรหฺมจารีนํ  อนุกมฺปโก  ผู้เอ็นดูซึ่งเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลาย
  ธมฺมสฺส เทสโก  ผู้แสดงซึ่งธรรม
เป็น กัตตุรูป กัตตุสาธนะ   แปลว่า “ผู้...”  
เป็น กัตตุรูป กัตตุสาธนะ ตัสสีละ แปลว่า “ผู้...โดยปกติ”
เป็น อุ การันต์ ปุงลิงค์ แจกอย่าง สตฺถุ
1.
ธาตุพยางค์เดียว เป็น อา  คง อา ไว้

ทาตา
ทา
ททาตีติ ทาตา ผู้ให้   ทา-ตุ (เอา อุ เป็น อา  ลบ สิ)


ทา
เทติ  สีเลนาติ  ทาตา ผู้ให้โดยปกติ  ทา-ตุ

ธาตา
ธา ธร
ธาเรตีติ  ธาตา ผู้ทรงไว้   ธา ธร-ตุ

ญาตา
ญา
ชานาตีติ  ญาตา ผู้รู้   ญา-ตุ

อญฺญาตา
ญา
อาชานาตีติ  อญฺญาตา ผู้รู้ทั่ว   อา-ญา-ตุ

อุฏฺฐาตา
ฐา
อุฏฺฐตีติ  อุฏฺฐาตา ผู้ลุกขึ้น  อุ-ฐา-ตุ

2.

ลงหลังธาตุสระอื่นนอกจาก อา  พฤทธิ์ได้

โสตา
สุ
สุณาตีติ  โสตา ผู้ฟัง  สุ-ตุ

เนตา
นี
เนตีติ  เนตา ผู้นำไป  นี-ตุ

ภวิตา
ภู
ภวตีติ  ภวิตา ผู้เป็น   ภู-ตุ  (ลง อิ อาคม)

เชตา
ชิ
ชินาตีติ  เชตา ผู้ชนะ  ชิ-ตุ

อกฺขาตา
ขา
อกฺขายตีติ  อกฺขาตา ผู้บอก  อา-ขา-ตุ


ธาตุมี จ ท ร น เป็นที่สุด  ลบที่สุดธาตุ แล้วซ้อน ตฺ

วตฺตา
วจ
วจตีติ  วตฺตา  ผู้กล่าว  วจ-ตุ

เภตฺตา
ภิท
ภินฺทตีติ  เภตฺตา  ผู้ทำลาย  ภิท-ตุ

ขตฺตา
ขน
ขนตีติ  ขตฺตา ผู้ขุด  ขน-ตุ

กตฺตา
กร
กโรตีติ  กตฺตา  ผู้ทำ  กร-ตุ

ภตฺตา
ภร
ภรตีติ  ภตฺตา  ผู้เลี้ยง, ผู้เลี้ยงดู, ภัสดา  ภร-ตุ


หมวด ทิว ธาตุ  ลง ย ปัจจัย  แล้วแปลง ย กับที่สุดธาตุ

พุชฺฌิตา
พุธ
พุชฺฌตีติ  พุชฺฌิตา  ผู้รู้  พุธ-ตุ

ยุชฺฌิตา
ยุธ
ยุชฺฌตีติ  ยุชฺฌิตา  ผู้รบ  ยุธ-ตุ

วชฺฌตา
หน
หนตีติ  วชฺฌตา  ผู้ฆ่า   หน>วธ-ย-ตุ

อุปฺปชฺชตา
ปท
อุปฺปชฺชตีติ  อุปฺปชฺชตา  ผู้เกิดขึ้น   อุ-ปท-ย-ตุ


หมวด จุร ลง เณ ณย ปัจจัย

โจเรตา
จุร
โจเรตีติ  โจเรตา  ผู้ขโมย   จุร-เณ-ตุ

ปาลยิตา
ปาล
ปาลยตีติ  ปาลยิตา  ผู้รักษา   ปาล-ณย-ตุ


หลัง คม หน ชน ธาตุเป็นต้น  ลบที่สุดธาตุ  ซ้อน นฺ

คนฺตา
คม
คจฺฉตีติ  คนฺตา ผู้ไป  คม-ตุ

หนฺตา
หน
หนตีติ  หนฺตา ผู้ฆ่า  หน-ตุ

ชนฺตุ
ชน
ชายตีติ  ชนฺตุ  ผู้เกิด  ชน-ตุ  (แจกอย่าง ครุ)


ถ้าไม่แปลงธาตุ  ให้ลง อิ อาคม เสมอ

สริตา
สร
สรตีติ  สริตา  ผู้แล่นไป, ผู้ระลึก  สร-ตุ

รกฺขิตา
รกฺข
รกฺขตีติ  รกฺขิตา  ผู้รักษา  รกฺข-ตุ

นิทฺทายิตา
ทา
นิทฺทายตีติ  นิทฺทายิตา ผู้หลับ  นิ-ทา-ย-อิ-ตุ


ในเหตุกัตตุวาจก ลงเหตุปัจจัย 4 ตัว

ปโพเธตา
พุธ
ปโพเธตีติ  ปโพเธตา ผู้ให้รู้  ป-พุธ-เณ-ตุ

สาเรตา
สร
สาเรตีติ  สาเรตา ผู้ให้ระลึก  สร-เณ-ตุ


ตุ ปัจจัย  แปลหักฉัฏฐีวิภัตติ เป็นทุติยาวิภัตติได้

  อคฺคสฺส  ทาตา (ชโน)  ชนผู้ให้  ซึ่งสิ่งที่เลิศ
  ธมฺมสฺส  อญฺญาตาโร (ชนา)  ชน ท. ผู้รู้ทั่ว ซึ่งธรรม
เป็น กัตตุรูป กัตตุสาธนะ ตัสสีละ แปลว่า “ผู้...โดยปกติ
เป็น สมาสรูป กัตตุสาธนะ ตัสสีละ แปลว่า “ผู้มีการ (ความ, อัน)...เป็นปกติ
เป็นปุงลิงค์   อู การันต์ แจกอย่าง วิญฺญู   หรือ อุ การันต์ แจกอย่าง ครุ


ตุ ปัจจัย

รูปัจจัย
1.
ลงหลังธาตุทั้งปวง  ลบ รฺ  แล้วลบที่สุดธาตุ

ปารคู
คม
ปารํ คจฺฉติ สีเลนาติ  ปารคู ผู้ถึงซึ่งฝั่งโดยปกติ  ปาร-คม-รู


คม
ปารํ คนฺตุํ สีลมสฺสาติ  ปารคู ผู้มีการถึงซึ่งฝั่งเป็นปกติ  ปาร-คม-รู

เวทคู
คม
เวทํ คจฺฉติ สีเลนาติ  เวทคู ผู้ถึงซึ่งเวทโดยปกติ  เวท-คม-รู

อนฺตคู
คม
อนฺตํ คจฺฉติ สีเลนาติ  อนฺตคู ผู้ถึงซึ่งที่สุดโดยปกติ  อนฺต-คม-รู

อทฺธคู
คม
อทฺธานํ คจฺฉติ สีเลนาติ  อทฺธคู ผู้ไปสู่ทางยาวไกลโดยปกติ  อทฺธา-คม-รู

ธมฺมญฺญู
ญา
ธมฺมํ ชานาติ สีเลนาติ  ธมฺมญฺญู ผู้รู้ซึ่งธรรมโดยปกติ  ธมฺม-ญา-รู  ซ้อน ญฺ

มตฺตญฺญู
ญา
มตฺตํ ชานาติ สีเลนาติ  มตฺตญฺญู ผู้รู้ซึ่งประมาณโดยปกติ  มตฺต-ญา-รู

สพฺพญฺญู
ญา
สพฺพํ ชานาติ สีเลนาติ  สพฺพญฺญู ผู้รู้ซึ่งสิ่งทั้งปวงโดยปกติ  สพฺพ-ญา-รู

วรญฺญู
ญา
วรํ ชานาติ สีเลนาติ  วรญฺญู ผู้รู้ซึ่งสิ่งอันประเสริฐโดยปกติ  วร-ญา-รู

วทญฺญู
ญา
(ยาจกานํ) วทํ ชานาติ สีเลนาติ  วทญฺญู ผู้รู้ซึ่งถ้อยคำ(ของยาจก)โดยปกติ  วท-ญา-รู

กตญฺญู
ญา
กตํ (อุปการํ) ชานาติ สีเลนาติ  กตญฺญู ผู้รู้ซึ่งอุปการะอันท่านทำแล้วโดยปกติ   กต-ญา-รู

รตฺตญฺญู
ญา
รตฺตึ ชานาติ สีเลนาติ  รตฺตญฺญู ผู้รู้ซึ่งราตรีโดยปกติ   รตฺติ-ญา-รู   (เอา อิ เป็น อ)

วิญฺญู
ญา
วิชานาติ สีเลนาติ  วิญฺญู ผู้รู้วิเศษโดยปกติ  วิ-ญา-รู

ภิกฺข และ อิกฺข ธาตุ ไม่ลบที่สุดธาตุ  และรัสสะ อู เป็น อุ  เช่น

ภิกฺขุ
ภิกฺข
ภิกฺขติ สีเลนาติ  ภิกฺขุ ภิกฺขุนี ผู้ขอโดยปกติ, ภิกษุ, ภิกษุณี  ภิกฺข-รู


อิกฺข
(สํสาเร) ภยํ อิกฺขติ สีเลนาติ  ภิกฺขุ ภิกฺขุนี ผู้เห็นภัยในสังสารโดยปกติ  ภย-อิกฺข-รู  ลบ ย
3.
แปลงตัวธาตุ หรือพยัญชนะที่สุดธาตุได้บ้าง

วธู
หน
หนติ สีเลนาติ  วธู ผู้ฆ่าโดยปกติ, หญิงสาว  หน-รู  แปลง หน เป็น วธ


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น