สังขยา
(สังขยา คือ
การนับจำนวน จัดเป็นคุณนาม เพราะบอกปริมาณหรือลำดับ ของนามนามหรือสัพพนาม)
สังขยา แปลว่า การนับ หมายถึง
ศัพท์ที่เป็นเครื่องนับนามนาม แบ่งเป็น ๒ คือ
๑.
ปกติสังขยา
คือ นับนามนามโดยปกติ เพื่อให้รู้ว่านามนามนั้นมีประมาณเท่าใด เช่น เอก ๑, ทฺวิ ๒,
ติ ๓, จตุ ๔ เป็นต้น
ตัวอย่างเช่น ทส ทิวสา วัน ๑๐ วัน นับจำนวนวันทุกวัน รวมเป็น ๑๐ วัน
ตัวอย่างเช่น ทสมํ ทิวสํ วันที่ ๑๐ กล่าวถึงวันสุดท้ายวันเดียวเท่านั้น คือวันที่ ๑๐ มิได้กล่าวถึงวันทั้ง ๑๐ วัน (ดังนั้น ปูรณสังขยาจึงเป็นเอกวจนะเสมอ)
ส่วนวจนะ เช่นพหุวจนะนั้น บอกเพียงจำนวนของนามนามว่ามีตั้งแต่ ๒ ขึ้นไป ไม่อาจบอกจำนวนให้ละเอียดแน่นอนลงไปได้ แม้แต่เอกวจนะที่บอกจำนวนของสิ่งเดียว บางครั้งก็หมายเอาของหลายสิ่ง เช่น ปตฺตจีวรํ อ.บาตรและจีวร
ที่เป็นสัพพนาม เป็นได้ทั้ง ๒ วจนะ เป็นได้ ๓ ลิงค์ แจกแบบ ย ศัพท์
ต่างจาก ย ศัพท์ เฉพาะในอิตถีลิงค์ เอกวจนะ จ. ฉ. เอกิสฺสา, ส. เอกิสฺสํ เท่านั้น
ที่เป็นพหุวจนะให้แปลว่า บางเหล่า บางพวก, เหล่าหนึ่ง พวกหนึ่ง เช่น เอเก (อาจริยา) อ.อาจารย์ ท. บางพวก
เอโก ทารโก ปูวํ ขาทติ. อ.เด็กคนหนี่ง ย่อมกิน ซึ่งขนม
ปุริสสฺส เอโก โคโณ อโหสิ, อิตฺถิยา เอโก.
อ.วัว ตัวหนึ่ง ได้มีแล้ว แก่บุรุษ, อ.วัว ตัวหนึ่ง ได้มีแล้ว แก่หญิง.
ทฺวาทส, พารส, ทฺวาวีสติ, พาวีสติ, ทฺวตฺตึส, พตฺตึส
เทฺวจตฺตาฬีส, ทฺวาสฏฺฐี, เทฺวนวุติ
เมื่อเข้ากับนามนาม คง ทฺวิ ไว้บ้าง เช่น ทฺวิปาทา สัตว์ ๒ เท้า
แปลงเป็น ทุ บ้าง เช่น ทุปฏํ วตฺถํ สงฺฆาฏิ ผ้าสังฆาฏิ ๒ ชั้น
หรือสิ่งที่รู้กัน ทั่วไปว่าอยู่คู่กัน เช่น อุโภ ชายปติกา เมียและผัวทั้งสอง อาจารย์กับศิษย์ ทั้งสอง เป็นต้น
นอกนั้นคงไว้ตามเดิม เช่น จตุปาริสุทธิสีลํ เป็นต้น
ตัวอย่างเช่น ทส ทิวสา วัน ๑๐ วัน นับจำนวนวันทุกวัน รวมเป็น ๑๐ วัน
ตัวอย่างเช่น ทสมํ ทิวสํ วันที่ ๑๐ กล่าวถึงวันสุดท้ายวันเดียวเท่านั้น คือวันที่ ๑๐ มิได้กล่าวถึงวันทั้ง ๑๐ วัน (ดังนั้น ปูรณสังขยาจึงเป็นเอกวจนะเสมอ)
ส่วนวจนะ เช่นพหุวจนะนั้น บอกเพียงจำนวนของนามนามว่ามีตั้งแต่ ๒ ขึ้นไป ไม่อาจบอกจำนวนให้ละเอียดแน่นอนลงไปได้ แม้แต่เอกวจนะที่บอกจำนวนของสิ่งเดียว บางครั้งก็หมายเอาของหลายสิ่ง เช่น ปตฺตจีวรํ อ.บาตรและจีวร
ที่เป็นสัพพนาม เป็นได้ทั้ง ๒ วจนะ เป็นได้ ๓ ลิงค์ แจกแบบ ย ศัพท์
ต่างจาก ย ศัพท์ เฉพาะในอิตถีลิงค์ เอกวจนะ จ. ฉ. เอกิสฺสา, ส. เอกิสฺสํ เท่านั้น
ที่เป็นพหุวจนะให้แปลว่า บางเหล่า บางพวก, เหล่าหนึ่ง พวกหนึ่ง เช่น เอเก (อาจริยา) อ.อาจารย์ ท. บางพวก
เอโก ทารโก ปูวํ ขาทติ. อ.เด็กคนหนี่ง ย่อมกิน ซึ่งขนม
ปุริสสฺส เอโก โคโณ อโหสิ, อิตฺถิยา เอโก.
อ.วัว ตัวหนึ่ง ได้มีแล้ว แก่บุรุษ, อ.วัว ตัวหนึ่ง ได้มีแล้ว แก่หญิง.
ทฺวาทส, พารส, ทฺวาวีสติ, พาวีสติ, ทฺวตฺตึส, พตฺตึส
เทฺวจตฺตาฬีส, ทฺวาสฏฺฐี, เทฺวนวุติ
เมื่อเข้ากับนามนาม คง ทฺวิ ไว้บ้าง เช่น ทฺวิปาทา สัตว์ ๒ เท้า
แปลงเป็น ทุ บ้าง เช่น ทุปฏํ วตฺถํ สงฺฆาฏิ ผ้าสังฆาฏิ ๒ ชั้น
หรือสิ่งที่รู้กัน ทั่วไปว่าอยู่คู่กัน เช่น อุโภ ชายปติกา เมียและผัวทั้งสอง อาจารย์กับศิษย์ ทั้งสอง เป็นต้น
นอกนั้นคงไว้ตามเดิม เช่น จตุปาริสุทธิสีลํ เป็นต้น
๑. จัดปกติสังขยาลงในนามทั้ง 3
|
||
ตั้งแต่ เอก ถึง จตุ
|
(1-4)
|
เป็นสัพพนาม
|
ตั้งแต่ ปญฺจ ถึง อฏฺฐนวุติ
|
(5-98)
|
เป็นคุณนาม
|
ตั้งแต่ เอกูนสตํ ขึ้นไป
|
(99...)
|
เป็นนามนาม
|
*จัดเป็นคุณนามทั้งหมดก็ได้
เพราะประกอบเข้ากับนามนามได้เหมือนกัน
|
||
๒. จัดปกติสังขยาลงในลิงค์ทั้ง 3
|
||
ตั้งแต่ เอก ถึง อฏฺฐารส
|
(๑-๑๘)
|
เป็นได้ ๓ ลิงค์
|
ตั้งแต่ เอกูนวีสติ ถึง อฏฺฐนวุติ
|
(19-98)
|
เป็นอิตถีลิงค์
|
ตั้งแต่ เอกูนสตํ ขึ้นไป
|
(99...)
|
เป็นนปุํสกลิงค์
|
เฉพาะ โกฏิ
(๑๐,๐๐๐,๐๐๐)
เป็นอิตถีลิงค์
|
||
๓. จัดปกติสังขยาลงในวจนะทั้ง ๒
|
||
เอกสังขยา
|
(1)
|
เป็นเอกวจนะอย่างเดียว
|
เอกสัพพนาม
|
(1)
|
เป็นได้ 2 วจนะ
|
ตั้งแต่ ทฺวิ ถึง อฏฺฐารส
|
(2-18)
|
เป็นพหุวจนะอย่างเดียว
|
ตั้งแต่ เอกูนวีสติ ถึง อฏฺฐนวุติ
|
(19-98)
|
เป็นเอกวจนะอย่างเดียว
|
ตั้งแต่ เอกูนสตํ ขึ้นไป
|
(99...)
|
เป็นได้ 2 วจนะ
|
ปูรณสังขยา
ปูรณสังขยาทั้งปวง เป็นคุณนาม เป็นได้ ๓ ลิงค์ เป็นเอกวจนะอย่างเดียว
|
๒.
ปูรณสังขยา
คือ นับนามนามที่เต็มในที่นั้นๆ เจาะจงนับเอาแต่หน่วยเดียว
สังขยากับวจนะต่างกัน
สังขยานับนามนามให้รู้ว่ามีเท่าใด โดยแจ้งชัด เช่น ปญฺจ
ชนา อ.ชน ท. ห้า เป็นต้น
การใช้ เอก ศัพท์
ที่เป็นปกติสังขยา
เป็นเอกวจนะอย่างเดียว เป็นได้ ๓ ลิงค์
แจกตามแบบของตน
เอกสังขยากับเอกสัพพนามต่างกัน
เอกสังขยาเป็นเอกวจนะอย่างเดียว
เอกสัพพนามเป็นได้ทั้ง ๒ วจนะ
๑.
เอกสังขยา ต้องมีบทนามนามที่เป็นเจ้าของตามหลัง
เช่น
๒.
เอกสัพพนาม ไม่ต้องมีบทนามนามที่เป็นเจ้าของตามหลังก็ได้
เพราะใช้แทนนามนามที่ออกชื่อมาแล้วข้างต้น เช่น
การใช้ ทฺวิ ศัพท์
ทฺวิ ศัพท์ นี้
แจกเป็นแบบเดียวกันทั้ง ๓ ลิงค์
๑.
เมื่ออยู่หน้า ทส, วีสติ, ตึส แปลงเป็น ทฺว และ พา เช่น
๒.
เมื่ออยู่หน้าสังขยาตั้งแต่
จตฺตาฬีส ถึง นวุติ แปลงเป็น
เทฺว และ ทฺวา เช่น
๓.
เมื่อเข้ากับสังขยานาม คง ทฺวิ
ไว้ตามเดิม
๔.
แปลงเป็น
ทิ บ้าง เช่น
ทิโช สัตว์เกิด ๒ หน (นก, พราหมณ์)
แต่จะถือเอาแน่นอนตายตัวไม่ได้
เพราะท่านจัดการเปลี่ยนแปลง โดยถือเอาความสละสลวยแห่งภาษามากกว่าอย่างอื่น
ต้องศึกษาและสังเกตเอาเอง
การใช้ อุภ ศัพท์
อุภ แปลว่า
ทั้งสอง ใช้นับจำนวนนามนามอย่างเดียว
จะใช้เข้ากับสังขยานามนาม เหมือน ทฺวิ ศัพท์ เช่น
ทฺวิสหสฺสํ ไม่ได้
อุภ ศัพท์
ใช้กับสิ่งที่มีอยู่เป็นคู่ ๆ ตามธรรมชาติ
เช่น อุโภ อกฺขี ตาทั้งสอง
มือทั้งสอง เป็นต้น
การใช้ ติ ศัพท์
๑.
เมื่อเข้ากับสังขยาจำนวนสิบ
แปลงเป็น เต เช่น เตรส, เตวีสติ
๒.
เมื่อเข้ากับสังขยานามนาม
คง ติ ไว้ เช่น
ติสตํ, ติสหสฺสํ
๓.
เมื่อเข้ากับนามนาม
คงเป็น ติ หรือแปลงเป็น เต
เช่น ติโยชนํ ๓ โยชน์, เตวิชฺโช ผู้มีวิชชา ๓
การใช้ จตุ ศัพท์
เมื่อเป็นเศษของสังขยาอื่น แปลงเป็น จุ เช่น จุทฺทส
การใช้ ปญฺจ อฏฺฐ ศัพท์
ตั้งแต่ ปญฺจ
ถึง อฏฺฐ ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงอะไร
การใช้ นว ศัพท์
๑.
นว
ศัพท์ ที่เป็นสังขยาคุณนาม แปลว่า ๙
เช่น นว ภิกฺขู อ. ภิกษุ ท. ๙
๒.
นว
ศัพท์ ที่เป็นคุณนาม แปลว่า ใหม่ มักลง ก ต่อท้าย เช่น นวก + โอวาท =
นวโกวาท แปลว่า โอวาทเพื่อภิกษุใหม่
จัดสังขยาตาม นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ
และการแจกวิภัตติ
ปกติสังขยา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น