นามกิตก์
กิตปัจจัย
|
กิจจปัจจัย
|
กิตกิจจปัจจัย
|
|
ถ้าลง
กิตปัจจัย (กฺวิ
ณี ณฺวุ ตุ รู)
|
เป็น
กัตตุสาธนะ อย่างเดียว
|
ลง
กิจจปัจจัย (ข
ณฺย)
|
เป็น
กัมมสาธนะ และ
ภาวสาธนะ
|
ลง
กิตกิจจปัจจัย (อ
อิ ณ ตเว ติ ตุํ ยุ)
|
เป็นได้ทั้ง
7
สาธนะ
|
1. กิตปัจจัย 5 :
|
กฺวิ
ณี ณฺวุ ตุ รู
|
เป็นเครื่องหมาย
กัตตุรูป
|
2. กิจจปัจจัย 2 :
|
ข
ณฺย
|
เป็นเครื่องหมาย
กัมมรูป และ
ภาวรูป
|
3. กิตกิจจปัจจัย 7 :
|
อ
อิ ณ ตเว ติ ตุํ ยุ
|
เป็นเครื่องหมาย
กัตตุรูป กัมมรูป
และ ภาวรูป
|
1.
|
กัตตุสาธนะ
|
เป็นชื่อของผู้ทำ
|
เช่น ทายโก (ชโน)
|
ผู้ให้
|
2.
|
กัมมสาธนะ
|
เป็นชื่อของผู้ถูกทำ
|
เช่น ทานํ (วตฺถุ)
|
วัตถุที่ให้
|
3.
|
ภาวสาธนะ
|
บอกกิริยาอาการ
|
เช่น ทานํ
|
การให้
|
4.
|
กรณสาธนะ
|
เป็นชื่อของเครื่องทำ
|
เช่น ทานา (เจตนา)
|
เครื่องให้
|
5.
|
สัมปทานสาธนะ
|
เป็นชื่อของผู้รับมอบ
|
เช่น สมฺปทาโน (ปุคฺคโล)
|
ผู้รับมอบ
|
6.
|
อปาทานสาธนะ
|
เป็นชื่อของที่ที่จากไป
|
เช่น ปภโว (ปพฺพโต)
|
ที่เกิดก่อน
|
7.
|
อธิกรณสาธนะ
|
เป็นชื่อของสถานที่
เวลา ที่ทำ
|
เช่น ทานา (สาลา)
|
สถานที่ให้
|
รูป
|
สาธนะ
|
รูปวิเคราะห์
สาธนะ อัญญบท
|
คำแปลสาธนะ
|
|
1.
|
กัตตุรูป
|
กัตตุสาธนะ
|
......
-ตีติ ......... (.........)
|
“ผู้...”
|
กัตตุรูป
|
กัตตุสาธนะ
ตัสสีละ
|
......
-ติ สีเลนาติ ......... (.........)
|
“ผู้...โดยปกติ”
|
|
สมาสรูป
|
กัตตุสาธนะ
ตัสสีละ
|
......
-ตุํ สีลมสฺสาติ .........
(.........)
|
“ผู้มีการ/ความ/อัน...เป็นปกติ”
|
|
......
-สีโลติ/-สีลาติ/-สีลนฺติ ......... (.........)
|
||||
2.
|
กัตตุรูป
|
กัมมสาธนะ
|
......
-ติ ตนฺติ ......... (.........)
|
“เป็นที่...”
|
กัมมรูป
|
......
-อิยเตติ ......... (.........)
|
“(เป็นที่)อันเขา...”
|
||
กัมมรูป
|
......
-ตพฺโพติ/-ตพฺพาติ/-ตพฺพนฺติ ... (...)
|
“(เป็นที่)อันเขาพึง...”
|
||
3.
|
ภาวรูป
|
ภาวสาธนะ
|
......
-ยเตติ .........
|
“ความ/การ/อัน...”
|
......
-ตพฺพนฺติ .......
|
||||
......
-นํ, -ณํ .........
|
||||
4.
|
กัตตุรูป
|
กรณสาธนะ
|
......
-ติ เตนาติ, ตายาติ
......... (.....)
|
“เป็นเครื่อง/เป็นเหตุ...”
|
กัมมรูป
|
......
-อิยเต เตนาติ, ตายาติ
.... (.....)
|
“เป็นเครื่อง/เหตุ อันเขา...”
|
||
5.
|
กัตตุรูป
|
สัมปทานสาธนะ
|
......
-ติ ตสฺสาติ ......... (.........)
|
“เป็นที่...”
|
กัมมรูป
|
......
-อิยเต ตสฺสาติ ......... (.........)
|
“เป็นที่อันเขา...”
|
||
6.
|
กัตตุรูป
|
อปาทานสาธนะ
|
......
-ติ ตสฺมาติ, ตายาติ
........ (.........)
|
“เป็นแดน...”
|
7.
|
กัตตุรูป
|
อธิกรณสาธนะ
|
......
-ติ เอตฺถาติ ......... (.........)
|
“เป็นที่...”
|
กัมมรูป
|
......
-อิยเต เอตฺถาติ .........
(.........)
|
“เป็นที่อันเขา...”
|
1.
|
กัตตุรูป
กัตตุสาธนะ
|
เทตีติ ทายโก (ชโน)
|
|
กัตตุรูป
กัตตุสาธนะ ตัสสีละ
|
ธมฺมํ วทติ สีเลนาติ ธมฺมวาที
(ชโน)
|
||
สมาสรูป
กัตตุสาธนะ ตัสสีละ
|
ธมฺมํ วตฺตุํ สีลมสฺสาติ ธมฺมวาที (ชโน)
|
||
ธมฺมวทนสีโลติ
ธมฺมวาที (ชโน)
|
|||
2.
|
กัตตุรูป
กัมมสาธนะ
|
ปิยติ ตนฺติ ปิโย (ปุตฺโต)
|
สกัมมธาตุ
|
กัมมรูป
กัมมสาธนะ
|
ปิยิยเตติ ปิโย (ปุตฺโต)
|
||
กัมมรูป
กัมมสาธนะ
|
กาตพฺพนฺติ กิจฺจํ (กมฺมํ)
|
||
3.
|
ภาวรูป
ภาวสาธนะ
|
คจฺฉยเตติ คมนํ
|
อกัมมธาตุ
|
คนฺตพฺพนฺติ คมนํ
|
|||
คมนํ คมนํ, ปจนํ ปาโก
|
|||
4.
|
กัตตุรูป
กรณสาธนะ
|
พนฺธติ เตนาติ พนฺธนํ (วตฺถุ)
|
|
กัมมรูป
กรณสาธนะ
|
พนฺธิยเต เตนาติ พนฺธนํ (วตฺถุ)
|
||
5.
|
กัตตุรูป
สัมปทานสาธนะ
|
สมฺปเทติ ตสฺสาติ สมฺปทาโน (ปุคฺคโล)
|
สกัมมธาตุ
|
กัมมรูป
สัมปทานสาธนะ
|
สมฺปทิยเต ตสฺสาติ สมฺปทาโน (ปุคฺคโล)
|
||
6.
|
กัตตุรูป
อปาทานสาธนะ
|
ปภา
สรติ
ตสฺมาติ ปภสฺสโร (เทวกาโย)
|
อกัมมธาตุ
|
7.
|
กัตตุรูป
อธิกรณสาธนะ
|
นิสีทติ เอตฺถาติ นิสีทนํ (ฐานํ)
|
|
กัมมรูป
อธิกรณสาธนะ
|
สุณิยเต เอตฺถาติ สวโน (กาโล)
|
1.
|
ลงหลังธาตุพยางค์เดียว ลบ กฺวิ เช่น
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ภู
|
สยํ ภวตีติ สยมฺภู
(ภควา) ผู้เป็นเอง
สยํ-ภู-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
(โย ภควา) สยํ ภวติ อิติ (โส ภควา) สยมฺภู พระผู้มีพระภาคเจ้า ใด ย่อมเป็น เอง เหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า นั้น ชื่อว่า ผู้เป็นเอง |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ภู
|
สพฺพํ อภิภวตีติ สพฺพาภิภู
(ภควา) ผู้ครอบงำซึ่งสิ่งทั้งปวง สพฺพ-อภิ-ภู-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ภู
|
อภิ วิสิฏฺเฐน ภวตีติ อภิภู (พุทฺโธ) อภิ ไขความออกเป็น วิสิฏฺเฐน
อภิ-ภู-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
พระพุทธเจ้า ใด ย่อมเป็นยิ่ง คือว่า โดยยิ่ง เหตุนั้น พระพุทธเจ้า นั้น ชื่อว่า ผู้เป็นยิ่ง |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชิ
|
มารํ ชินาตีติ มารชิ
(ภควา) ผู้ชนะซึ่งมาร มาร-ชิ-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ภา
|
ปภาตีติ
ปภา (ธมฺมชาติ)
ผู้ส่องสว่าง, รัศมี ป-ภา-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
2.
|
ลงหลังธาตุ
2 พยางค์ ให้ลบที่สุดธาตุ แล้วลบ กฺวิ
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
กร
|
อนฺตํ กโรตีติ อนฺตโก
(มจฺจุ) ผู้กระทำซึ่งที่สุด, ความตาย อนฺต-กร-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
กร
|
ภตึ
กโรตีติ ภติโก (ชโน)
ผู้ทำซึ่งการรับจ้าง ภติ-กร-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ขน
|
สํ
สุฏฺฐุ
ขนตีติ สงฺโข (สตฺโต) ผู้ขุดดี สํ-ขน-กฺวิ ลบที่สุดธาตุ กัตตุ. กัตตุ.
สัตว์ใด ย่อมขุด ดี คือว่า ด้วยดี เหตุนั้น สัตว์นั้น ชื่อว่า ผู้ขุดดี |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คม
|
อุเรน
(อุรสา) คจฺฉตีติ
อุรโค
(สตฺโต) ผู้ไปด้วยอก อุร-คม-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คม
|
ภุเชน
คจฺฉตีติ
ภุชโค ภุชงฺโค
(สตฺโต) ผู้ไปด้วยขนด, งู ภุช-คม-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ. บทหลังลงนิคคหิตอาคม
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คม
|
ตุรํ คจฺฉตีติ ตุรโค ตุรงฺโค (สตฺโต) ผู้ไปเร็ว, ม้า ตุร-คม-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ. บทหลังลงนิคคหิตอาคม
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คม
|
วิหายเส
คจฺฉตีติ วิหโค (สตฺโต)
ผู้ไปในท้องฟ้า, นก วิหายส-คม-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คม
|
น
คจฺฉตีติ
นโค นงฺโค อโค ผู้ไม่ไป (คืออยู่กับที่), ต้นไม้, ภูเขา, ปราสาท น-คม-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รม
|
กุญฺเช รมตีติ กุญฺชโร
(สตฺโต) ผู้ยินดีในเงื้อมเขา, ช้าง
กุญฺช-รม-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชน
|
อตฺตนา
ชายตีติ อตฺรโช (ปุตฺโต)
ผู้เกิดจากตน อตฺต-ชน-กฺวิ แปลง ต เป็น ร กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชน
|
กมฺเมหิ
ชายตีติ กมฺมโช (ชโน)
ผู้เกิดจากกรรม กมฺม-ชน-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชน
|
กมฺมโต
ชาโตติ
กมฺมโช (วิปาโก) อันเกิดแล้วจากกรรม กมฺม-ชน-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
กมฺมโต
ชาตาติ กมฺมชา (ปฏิสนฺธิ)
กมฺมโต ชาตนฺติ กมฺมชํ (รูปํ) |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชน
|
วาริมฺหิ
ชาตํ วาริชํ (อุปฺปลํ)
อันเกิดในน้ำ, บัว วาริ-ชน-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชน
|
วาริมฺหิ
ชาโต
วาริโช (สตฺโต) อันเกิดในน้ำ, ปลา วาริ-ชน-กฺวิ
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชน
|
ปงฺเก
ชาตํ
ปงฺกชํ (ปุปฺผํ) อันเกิดในตม, ดอกบัว ปงฺก-ชน-กฺวิ
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชน
|
อณฺฑโต
ชายตีติ
อณฺฑโช ผู้เกิดจากไข่ อณฺฑ-ชน-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชน
|
ชเล
ชาโต ชลโช ผู้เกิดในน้ำ ชล-ชน-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชน
|
ปจฺฉา/อนุ
ชาโต อนุโช ผู้เกิดภายหลัง อนุ-ชน-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชน
|
ทฺวิกฺขตฺตุํ
ชายตีติ/ชาโต/ชาโตติ ทฺวิโช
ทิโช ผู้เกิดสองหน, นก, พราหมณ์
ทฺวิ-ชน-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ.
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ทิส
|
อิมํ
อิว
นํ ปสฺสตีติ อีทิโส
(ปุริโส) ผู้เช่นนี้ อิม-ทิส-กฺวิ แปลง อิม เป็น อิ
(ชน ย่อมเห็น ซึ่งบุรุษนั้น เพียงดัง บุคคลนี้ เหตุนั้น บุรุษนั้น ชื่อว่า ผู้ถูกเห็นเหมือนบุคคลนี้) |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ทิส
|
อยํ
วิย ทิสฺสตีติ อีทิโส (ปุริโส)
ผู้เช่นนี้
(บุรุษใด อันเขา ย่อมเห็น เพียงดัง บุคคลนี้ เหตุนั้น บุรุษนั้น ชื่อว่า อันเขาเห็นเพียงดังบุคคลนี้) |
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เฉพาะ
วิท ธาตุ
ไม่ลบที่สุดธาตุ แต่ลง อู อาคม (ถ้าลง
รู ปัจจัย ต้องลบที่สุดธาตุ)
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิท
|
โลกํ วิทตีติ โลกวิทู
(ภควา) ผู้รู้ซึ่งโลก โลก-วิท-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ. (โลกํ เวทยติ)
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิท
|
สพฺพํ วิทตีติ สพฺพวิทู
(ภควา) ผู้รู้ซึ่งธรรมทั้งปวง
สพฺพ-วิท-กฺวิ กัตตุ. กัตตุ. (สพฺพํ เวทยติ)
|
กิตก์ที่เป็นนามนามหรือคุณนาม
เรียกว่า นามกิตก์
กิริยากิตก์
จัดเป็น วาจก
และมีปัจจัยเป็นเครื่องบอกวาจก และกาล
เมื่อนำธาตุ
มาลงปัจจัยนามกิตก์ และลงวิภัตตินาม ก็สำเร็จเป็นนามกิตก์ได้
กร
(ทำ) + ณฺวุ
+ สิ = การโก (ผู้ทำ)
* ถ้าลงปัจจัยนามกิตก์ที่เป็นอัพยยะ
(ตเว ตุํ) ก็ไม่ต้องลงวิภัตตินาม
แต่ศัพท์นามกิตก์นี้จะเป็นสาธนะอะไร
ก็ขึ้นอยู่กับว่าลงปัจจัยพวกไหน เช่น
นามกิตก์ที่เป็น ภาวสาธนะ เป็นนามนาม
แปลออกสำเนียงอายตนิบาตได้
[สาธนะนั้น
สำเร็จมาจากรูปวิเคราะห์ และ รูปวิเคราะห์ ก็คือการเอาสาธนะมาแยก
(วิคฺคห) ธาตุ ปัจจัย บทหน้า มาประกอบเป็นรูปประโยคตามวาจกต่างๆ
รูปวิเคราะห์แห่งสาธนะ จัดเป็น 3 คือ
1.
วิเคราะห์เป็น กัตตุวาจก และ เหตุกัตตุวาจก เรียกว่า กัตตุรูป
2.
วิเคราะห์เป็น กัมมวาจก และ เหตุกัมมวาจก เรียกว่า กัมมรูป
3.
วิเคราะห์เป็น ภาววาจก
เรียกว่า ภาวรูป
ตัวอย่าง ทายโก ผู้ให้
ตั้งวิเคราะห์ ว่า เทตีติ ทายโก (ชโน)
ชน ใด ย่อมให้ เหตุนั้น ชน นั้น ชื่อว่า
ผู้ให้
เทติ อิติ
เป็นรูปวิเคราะห์ ทายโก
เป็นสาธนะ
ศัพท์นามกิตก์ที่เป็นคุณนาม
ใช้เป็นบทวิเสสนะของนามนามอื่น เช่น
ตามตัวอย่างข้างบน
ทายโก, ทายกสฺส
เป็นนามกิตก์ที่เป็นคุณนามใช้เป็นบทวิเสสนะของนามนาม คือ
ชโน และ ชนสฺส
1.
กัตตุสาธนะ เป็นชื่อของผู้ทำ มีผู้ทำกิริยาในรูปวิเคราะห์
เป็นประธานของสาธนะ
1) กัตตุรูป กัตตุสาธนะ
แปลว่า “ผู้”
2.
กัมมสาธนะ เป็นชื่อของสิ่งที่เขาทำ มีผู้ถูกทำ (กรรม) ของกิริยาในรูปวิเคราะห์ เป็นประธานของสาธนะ
1) กัตตุรูป กัมมสาธนะ แปลว่า “เป็นที่...”
3.
ภาวสาธนะ บอกกิริยา
คือความทำ
1) รูปวิเคราะห์เป็นกิริยาอาขยาต
ใช้อกัมมธาตุอย่างเดียว
4.
กรณสาธนะ เป็นชื่อของเครื่องทำ มีเครื่องทำ ของกิริยาในรูปวิเคราะห์ เป็นประธานของสาธนะ
1) กัตตุรูป กรณสาธนะ
แปลว่า “เป็นเครื่อง/เป็นเหตุ...”
5.
สัมปทานสาธนะ เป็นชื่อของผู้รับมอบ มีผู้รับมอบ ของกิริยาในรูปวิเคราะห์ เป็นประธานของสาธนะ
1) กัตตุรูป สัมปทานสาธนะ
แปลว่า “เป็นที่...”
6.
อปาทานสาธนะ เป็นชื่อของที่ที่จากไป มีที่ที่จากไป ของกิริยาในรูปวิเคราะห์ เป็นประธานของสาธนะ
เป็น
กัตตุรูป
อปาทานสาธนะ เท่านั้น แปลว่า
“เป็นแดน...”
7.
อธิกรณสาธนะ เป็นชื่อของที่ทำ (สถานที่ทำ เวลาที่ทำ) มีที่ทำ ของกิริยาในรูปวิเคราะห์ เป็นประธานของสาธนะ
1) กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ
แปลว่า “เป็นที่...”
1.
สัมปทานสาธนะ และ อปาทานสาธนะ มีที่ใช้น้อย
2.
สกัมมธาตุเป็นได้ 3 รูป
(เฉพาะภาวรูป ใช้ได้แต่รูปวิเคราะห์ที่เป็นนามกิตก์) 6 สาธนะ (เว้นอปาทานสาธนะ)
3.
ภาววาจก ในกิริยาอาขยาต
กิริยากิตก์ ใช้ อกัมมธาตุเท่านั้น
4.
เวลาแปล รูปวิเคราะห์ที่ต้องใส่
ย ต สัพพนามเพิ่มเข้ามา มี 3 คือ
5.
นามกิตก์ที่มีศัพท์เกี่ยวกับกาลเวลา สถานที่
เป็นอัญญบท มักเป็นอธิกรณสาธนะ
6.
วิธีสังเกตศัพท์นามกิตก์ ว่าเป็นสาธนะใด
1.
สังเกตที่ ปัจจัย
2.
สังเกตที่ ธาตุ
3.
สังเกตที่ อัญญบท
4.
สังเกตที่ คำแปลสาธนะ ว่าคำแปลนั้นๆ
เป็นคำแปลของสาธนะอะไร
5.
สังเกตที่ รูปวิเคราะห์ รูปวิเคราะห์จะเป็นเครื่องบอกได้แน่นอนว่า
ศัพท์นามกิตก์ศัพท์นั้นๆ เป็นสาธนะอะไร
1.
ตั้งวิเคราะห์เป็นกัตตุรูป ให้แยกธาตุของนามกิตก์ มาประกอบเป็นกิริยาอาขยาต กัตตุวาจก
หรือเหตุกัตตุวาจก ลง ติ อนฺติ วิภัตติวัตตมานา
2.
ตั้งวิเคราะห์เป็นกัมมรูป ให้แยกธาตุของนามกิตก์ มาประกอบเป็นกิริยาอาขยาต กัมมวาจก
3.
ตั้งวิเคราะห์เป็นภาวรูป
1.
ถ้าศัพท์นามกิตก์นั้นใช้ อกัมมธาตุ
ให้แยกธาตุมาประกอบเป็นกิริยาอาขยาต ภาววาจก หรือ ประกอบเป็นกิริยากิตก์ ตพฺพ
ปัจจัย ปฐมา. นปุํ. เอก.
(มีรูปเป็น -ตพฺพํ อย่างเดียว) หรือ
ประกอบเป็นนามกิตก์ ยุ ปัจจัย เป็นนามนาม เอกวจนะ
ตามลิงค์ที่ใช้กันอยู่
2.
ถ้าศัพท์นามกิตก์นั้นใช้ สกัมมธาตุ ให้แยกธาตุมาประกอบเป็นนามกิตก์อย่างเดียว
ลง ยุ ปัจจัย
เป็นนามนาม เอกวจนะ ตามลิงค์ที่ใช้กันอยู่
4.
ถ้านามกิตก์นั้นมีบทหน้า
1.
บทหน้าเป็นนามนาม สัพพนาม แปลออกสำเนียงวิภัตติใด
ให้แยกออกมาประกอบเป็นวิภัตตินั้น
2.
บทหน้าเป็นกิริยาวิเสสนะ แยกออกมาประกอบเป็นทุติยาวิภัตติ เอกวจนะ ตามเดิม
3.
บทหน้าเป็นอุปสัค ให้ประกอบเข้ากับธาตุเลย เช่น อภิภวตีติ
อภิภู (ภควา)
4.
บทหน้าเป็นนิบาต ให้แยกออกมาเป็นรูปเดิม เช่น สยํ ภวตีติ สยมฺภู
(ภควา)
ปัจจัยนามกิตก์ มี 14
ตัว
1.
กิตปัจจัย เป็นเครื่องหมาย กัตตุสาธนะ มี 5 คือ กฺวิ
ณี ณฺวุ ตุ
รู
2.
กิจจปัจจัย เป็นเครื่องหมาย กัมมสาธนะ และ
ภาวสาธนะ
มี 2 คือ ข
ณฺย
3.
กิตกิจจปัจจัย เป็นเครื่องหมาย สาธนะทั้ง 7 มี 7 คือ อ
อิ ณ ตเว
ติ ตุํ ยุ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น